The Base of Siam : รากไทย


…..มอง “ราก” ผ่านภาพจาก “ฟิล์มอินฟราเรดขาวดำ”……

– The Base of Siam : รากไทย
– โดย สมศักดิ์ พัฒนพิฑูรย์
– ผลงานบันทึกภาพถ่ายจาก โบราณสถานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และปราสาทสัจธรรมแห่งจังหวัดชลบุรี (บันทึกระหว่าง พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2550)

– ภายในประกอบด้วย

          – คำนิยมโดย สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ และ จิตต์ จงมั่นคง
          – ก่อนกำเนิด “รากไทย” โดย สมศักดิ์ พัฒนพิฑูรย์
          – ผลงานภาพต่าง ๆ
          – เก็บเล็กผสมน้อยเรื่องย่อย ๆ ของฟิล์มอินฟราเรด ขาว-ดำ โดย สมศักดิ์ พัฒนพิฑูรย์ (ไทย/อังกฤษ)(จำนวน 9 หน้า)
           – ประวัติศิลปิน

– ปกแข็งชนิดอ่อนหนา 142 หน้า (ขนาด 240*295*20 มม.)

– 850- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** ใบรองปกหน้ามีลายเซ็นศิลปินเขียนมอบไว้ รูปเล่มและส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

ศิลปะและสังคม

……ศิลปะและสังคม……(ตำหนิเล็กน้อยครับ)…..

– ศิลปะและสังคม
– โดย วิรุณ ตั้งเจริญ
– พิมพ์ครั้งแรก 2548

– เนื้อหาภายในประกอบด้วย 22 บทแบ่งออกเป็น 3 หมวดใหญ่ อาทิ

         – คำนำ

        ● พระอัจฉริยะ (ประกอบด้วย)
              – พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 9) : ศิลปวัฒนธรรม ศิลปกรรม และศิลปาชีพ
              – พระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทางด้านศิลปกรรมศาสตร์
              – หนึ่งศตวรรษพระบิดาแห่งศิลปหัตถกรรมไทย : สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย
              – สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

         ● พัฒนาการศิลปกรรม (ประกอบด้วย)
               – กระแสศิลปะต้นกรุงรัตนโกสินทร์
               – “เพาะช่าง” สถาบันศิลปะที่สร้างดุลยภาพ ระหว่างตะวันตกและไทย
               – ความเป็นมาและสภาพของศิลปะสมัยใหม่ในประเทศไทย
               – งานวิชาการและการวิจัยทางด้านทัศนศิลป์ในสังคมไทย
               – องค์กรบุกเบิกทางด้านศิลปกรรม
               – กระแสศิลปะเพื่อชีวิตและสังคม
               – จิตรกรรมสีน้ำในประเทศไทย
               – พัฒนาการศชจิตรกรรมภูมิทัศน์

          ● ทรรศนะ (ประกอบด้วย)
                – แนวโน้มและทิศทางของศิลปะในสังคมใหม่
                – วิกฤติการณ์และการเปลี่ยนไปของวงการศิลปกรรม
                – ศิลปกรรมศาสตร์ในกระแสโลกาภิวัฒน์
                – จากศิลปะหลักวิชาสู่ศิลปะสมัยใหม่
                – อนาคตของศิลปกรรมศาสตร์
                – คณะศิลปกรรมศาสตร์ในสังคมใหม่
                – อีกมิติหนึ่งของศิลปกรรมศาสตร์
                – หอศิลป์ร่วมสมัยกับสังคมไทย ในกระแสวัฒนธรรมหลังสมัยใหม่
                – ศิลปะและนวัตกรรมการออกแบบในสังคมไทย
                – ศิลปกรรมศาสตร์และกระแสสากล

– หนา 272 หน้า (ขนาด 145*210*15 มม.)

– 350- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** ปก หน้า/หลัง มอมแมมพกช้ำบาง มีรอยปากกาเมจิกเขียนชื่อที่ใบรองปกหน้าเล็กน้อย รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

พลังวัฒนธรรม

……ว่าด้วย “พลังแห่งวัฒนธรรม”……

– พลังวัฒนธรรม
– โดย ศ.ดร.วิรุณ ตั้งเจริญ
– พิมพ์ครั้งแรก 2553 (จำนวนจัดพิมพ์ 1,000 เล่ม)

– เนื้อหาภายในประกอบด้วย อาทิ

        – คำนำ

        – ศิลปวัฒนธรรมกับคุณภาพชีวิตไทย
        – ปรโตโฆสะและโยนิโสมนสิการจากพุทธธรรม
        – เพื่อการศึกษา และ “ความเป็นครู”
        – ปัจฉิมโอวาทแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
        – ศิลปกรรมไทยกับการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม
        – ศิลปะกับพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน
        – วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยของชาวบ้าน
        – แก้วิกฤตด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
        – การศึกษาไทยและการพัฒนากระบวนการเรียนรู้
        – จิตอาสาเพื่อพัฒนาจิตสำนึกสาธารณะ
        – การส่งเสริมและพัฒนาเด็กที่มีความสามารถพิเศษ
        – การรับรู้และจินตภาพ
        – ทิศทางและมุมมองของการบริหารจัดการวัฒนธรรม
        – การจัดการวัฒนธรรมและทัศนศิลป์
        – วัฒนธรรมสี : สีในทัศนศิลป์
        – กระบวนการเรียนรู้และภาวะผู้นำ
        – การพัฒนาสมรรถนะขององค์กรและผู้บริหาร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงาน
        – วัฒนธรรมศึกษา

– หนา 224 หน้า (ขนาด 145*210*15 มม.)

– 250- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

78 ปี ของการรักษาศิลปวัฒนธรรม (หนังสือที่ระลึก เมื่อ 27 มี.ค. 2531)

…….78 ปี ของการรักษาศิลปวัฒนธรรม…(หนังสืออภินัน ฯ : ตำหนิเล็กน้อยครับ)……..

– 78 ปี ของการรักษาศิลปวัฒนธรรม (หนังสือที่ระลึก เมื่อ 27 มี.ค. 2531)

– เนื้อหาภายในประกอบด้วย อาทิ

        – คำนำ

        – บันทึกเหตุการณ์การได้ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์คืน (โดย พิสิฐ เจริญวงศ์)(จำนวน 13 หน้า)
        – ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์กับปัญหาในกฎหมายระหว่างประเทศ (โดย ประสิทธิ์ เอกบุตร)(จำนวน 6 หน้า)
        – ความเข้าใจในเรื่องการขึ้นทะเบียนโบราณสถาน โบราณวัตถุ และศิลปวัตถุ (โดย อดิศักดิ์ เช็กรัตน์)(จำนวน 8 หน้า)
        – อุทยานประวัติศาสตร์ พิมาย (โดย บวรเวท รุ่งรุจี)(จำนวน 6 หน้า)
        – อาคารถาวรวัตถุหน้าวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ (โดย สานิต เย็นทรวง)(จำนวน 2 หน้า)
        – ที่ดินโบราณสถานกำแพงเมืองคูเมือง (โดย เรวดี สกุลพาณิชย์)
        – พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง (โดย อารีพร อำนวยกิจเจริญ)
        – พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอุบลราชธานี (โดย สุกิจ เที่ยงมณีกุล)
         – ปราสาทเขาน้อยสีชมพู (โดย นวรัตน์ มงคลคำนวณเขตต์)(จำนวน 6 หน้า)
         – พระที่นั่งชัยมังคลาภิเษก (โดย อดิศักดิ์ เซ็กรัตน์)(จำนวน 6 หน้า)
          – ทรัพยากร บุคคลดีเด่นของกรมศิลปากร ในรอบปี 2531)(จำนวน 4 หน้า)
          – ประวัติกรมศิลปากร
          – ตึกที่ทำการกรมศิลปากรและวังเก่า (จำนวน 5 หน้า)
          – ผลการดำเนินงานของกรมศิลปากร พ.ศ. 2531 (โดย ศักดิ์สิทธิ์ พึงใจ)
          – หนังสือที่กรมศิลปากรจัดพิมพ์ประจำปี 2531 (โดย สิต วงษ์ชมภู)

– ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนา 72 หน้า (ขนาด 210*290*05 มม.)

– 200- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** หนังสืออภินัน ฯ : มีรอยเจาะเย็บเชือกเพื่อความแข็งแรงที่สันเปิด มีรอยปากกาบางจุด รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

เอกะทศวรรษ ศิลปาธร ( ในวาระครบรอบ 10 ปี แห่งการก่อตั้งโครงการรางวัลศิลปาธร เมื่อ พ.ศ. 2557 )

……กว่า 50 ศิลปิน ในวาระครบรอบ 10 ปี การก่อตั้งโครงการรางวัลศิลปาธร เมื่อ พ.ศ. 2557…(จัดพิมพ์จำนวน 1,000 เล่ม : ตำหนิเล็กน้อยครับ)…….

– เอกะทศวรรษ ศิลปาธร ( ในวาระครบรอบ 10 ปี แห่งการก่อตั้งโครงการรางวัลศิลปาธร เมื่อ พ.ศ. 2557 )
– จัดพิมพ์ครั้งแรก ก.ย. 2557 (จำนวนจัดพิมพ์ 1,000 เล่ม)

– เนื้อหาภายในเล่มประกอบด้วย อาทิ

         – บทเกริ่นนำ โดย เขมชาติ เทพไชย (ผอ.สนง.ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย)
 
         ● ลำดับศิลปินและผลงานบางส่วนเรียงลำดับดังนี้ อาทิเช่น
        
         ■ สาขาทัศนศิลป์

           – เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2547)
           – พรชัย ใจมา (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2548)
           – ชาติชาย ปุยเปีย (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2549)
           – วสันต์ สิทธิเขตต์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2550)
           – ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2550)
           – พินรี สัณฑ์พิทักษ์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2550)
           – อารยา ราษฎร์จำเริญสุข (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2551)
           – สาครินทร์ เครืออ่อน (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2552)
           – พัดยศ พุทธเจริญ (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2552)
           – นาวิน ลาวัลย์ชัยกุล (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2553)

         ■ สาขาวรรณศิลป์

          – ชาติ กอบจิตติ (ศิลปินศิลปาธร สาขาวรรณศิลป์ ปี 2547)
          – ศักดิ์สิริ มีสมสืบ (ศิลปินศิลปาธร สขาวรรณศิลป์ ปี 2548)
          – วินทร์ เลียววาริณ (ศิลปินศิลปาธร สาขาวรรณศิลป์ ปี 2549)
          – ศิริวร แก้วกาญจน์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาวรรณศิลป์ ปี 2550)
          – ขจรฤทธิ์ รักษา (ศิลปินศิลปาธร สาขาวรรณศิลป์ ปี 2551)
          – ไพวรินทร์ ขาวงาม น์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาวรรณศิลป์ ปี 2550)
          – อรสม สุทธิสาคร น์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาวรรณศิลป์ ปี 2552)
          – เสน่ห์ สังข์สุข น์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาวรรณศิลป์ ปี 2553)
         
         ■ สาขาคีตศิลป์

          – ดนู ฮันตระกูล น์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาคีตศิลป์ ปี 2547)
          – บัณฑิต อึ้งรังษี (ศิลปินศิลปาธร สาขาคีตศิลป์ ปี 2548)
          – ณัฐ ยนตรรักษ์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาคีตศิลป์ ปี 2549)

         ■ สาขาดนตรี

          – ณรงค์ ปรางค์เจริญ (ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรี ปี 2550)
          – ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร (ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรี ปี 2551)
          – สมเถา สุจริตกุล (ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรี ปี 2551 รางวัลศิลปาธรกิตติคุณ)
          – เด่น อยู่ประเสริฐ (ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรี ปี 2552)
          – บรูซ แกสตัน (ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรี ปี 2552 รางวัลศิลปาธรกิตติคุณ)
          – ชัยยุทธ โตสง่า (ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรี ปี 2553)

         ■ สาขาศิลปะการแสดง

          – ประดิษฐ ประสาททอง (ศิลปินศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ปี 2547)
          – มานพ มีจำรัส (ศิลปินศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ปี 2548)
          – พิเชษฐ กลั่นชื่น (ศิลปินศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ปี 2549)
          – นิมิตร พิพิธกุล (ศิลปินศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ปี 2550)
          – สินีนาฏ เกษประไพ (ศิลปินศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ปี 2551)
          – ชนประคัลภ์ จันทร์เรือง (ศิลปินศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ปี 2552)
          – นิกร แซ่ตั้ง (ศิลปินศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ปี 2553)

         ■ สาขาภาพยนตร์

          – เป็นเอก รัตนเรือง (ศิลปินศิลปาธร สาขาภาพยนตร์ ปี 2547)
          – อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล (ศิลปินศิลปาธร สาขาภาพยนตร์ ปี 2548)
          – วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง (ศิลปินศิลปาธร สาขาภาพยนตร์ ปี 2549)
          – ธัญสก พันสิทธิวรกุล (ศิลปินศิลปาธร สาขาภาพยนตร์ ปี 2550)
          – นนทรีย์ นิมิบุตร (ศิลปินศิลปาธร สาขาภาพยนตร์ ปี 2551)
          – พิมพกา โตวิระ (ศิลปินศิลปาธร สาขาภาพยนตร์ ปี 2552)
          – อาทิตย์ อัสสรัตน์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาภาพยนตร์ ปี 2553)

         ■ สาขาออกแบบเชิงสร้างสรรค์

          – สมพิศ ฟูสกุล (ศิลปินศิลปาธร สาขาออกแบบเชิงสร้างสรรค์ ปี 2551)
          – ไสยาสน์ เสมาเงิน (ศิลปินศิลปาธร สาขาออกแบบเชิงสร้างสรรค์ ปี 2551 รางวัลศิลปาธรกิตติคุณ)
          – สุวรรณ คงขุนเทียน (ศิลปินศิลปาธร สาขาออกแบบเชิงสร้างสรรค์ ปี 2551 รางวัลศิลปาธรกิตติคุณ)
          – สมชาย จงเจริญ (ศิลปินศิลปาธร สาขาออกแบบเชิงสร้างสรรค์ ปี 2552)
          – กุลภัทร ยันตรศาสตร์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาออกแบบเชิงสร้างสรรค์ ปี 2552)
          – เอกรัตน์ วงษ์จริต (ศิลปินศิลปาธร สาขาออกแบบเชิงสร้างสรรค์ ปี 2552)
          – ปริญญา โรจน์อารยานนท์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาออกแบบเชิงสร้างสรรค์ ปี 2552)

          ■ สาขาสถาปัตยกรรม

           – ปฐมา หรุ่นรักวิทย์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาสถาปัตยกรรม ปี 2553)

          ■ สาขามัณฑนศิลป์

           – วิฑูรย์ คุณาลังการ (ศิลปินศิลปาธร สาขามัณฑนศิลป์ ปี 2553)

          ■ สาขาเรขศิลป์

           – ประชา สุวีรานนท์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาเรขศิลป์ ปี 2553)
  
          ■ สาขาออกแบบ

           – วศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาออกแบบ ปี 2553)

          ● ทำเนียบรายชื่อ ศิลปินศิลปาธร (พ.ศ. 2547-2553)

– ปกแข็งหุ้มปกกระดาษอาร์ตหนาร่วม 220 หน้า (ขนาด 250*350*25 มม.)

– 1,250- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** ใบหุ้มมอมแมมถลอกเล็กน้อย รูปเล่มและส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***
        

พระมหาธาตุ – พระบรมธาตุในสยามประเทศ : “พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช

…..พระมหาธาตุ – พระบรมธาตุในสยามประเทศ ว่าด้วย “พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช”…(หนังสืออภินัน ฯ สภาพสมบูรณ์ครับ)……

– พระมหาธาตุ – พระบรมธาตุในสยามประเทศ : “พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช
– ผลงานวิจัยโดย เกรียงไกร เกิดศิริ (และคณะ)
– พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ก.พ. 2560

– ภายในแบ่งเนื้อหาออกเป็น 8 บทใหญ่ และภาคผนวก ประกอบด้วย

         – คำนำ โดยผู้วิจัย

         – บทที่ 1 : ระเบียบวิธีการศึกษา
         – บทที่ 2 : พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ และการตั้งถิ่นฐานในคาบสมุทรภาคใต้ และเมืองนครศรีธรรมราช โดยสังเขป
         – บทที่ 3 : นามเมืองนครศรีธรรมราช และนามพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช
         – บทที่ 4 : ผังเมือง และทำเลที่ตั้งวัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช
         – บทที่ 5 : พัฒนาการของผังบริเวณวัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราชจาก อดีต – ปัจจุบัน
         – บทที่ 6 : มรดกพุทธศิลปสถาปัตยากรรมวัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช
         – บมที่ 7 : พระพุทธปฏิมา และซุ้มเรือนแก้วปูนปั้นในวิหารทับเกษตร
         – บทที่ 8 : วัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราชกับแรงบันดาลใจสู่การสร้างพุทธศาสนสถาปัตยกรรมในดินแดนอื่น ๆ

          – ภาคผนวก

– ปกแข็งชนิดอ่อนหนา 162 หน้า (ขนาด 190*260*15 มม.)

– 450- จัดส่ง ลทบ.ฟรี (ไม่เข้าร่วมกิจกรรมนะครับ)

*** หนังสืออภินัน ฯ (มีรอยปั๊มอภินัน ฯ หนึ่งจุด) สภาพแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.
       

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

เสน่ห์ศิลป์พื้นถิ่น สู่ศิลป์ร่วมสมัย (หนังสือจากโครงการถ่ายทอดและส่งเสริมองค์ความรู้งานศิลปะร่วมสมัยในท้องถิ่นสถาบันวัฒนธรรมท้องถิ่น)

…..เสน่ห์ศิลป์พื้นถิ่น สู่ 14 ศิลปินร่วมสมัย..(หนังสือจำหน่ายออกจากห้องสมุด ตำหนิเล็กน้อยครับ)…..

– เสน่ห์ศิลป์พื้นถิ่น สู่ศิลป์ร่วมสมัย (หนังสือจากโครงการถ่ายทอดและส่งเสริมองค์ความรู้งานศิลปะร่วมสมัยในท้องถิ่นสถาบันวัฒนธรรมท้องถิ่น)
– พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ส.ค. 2557 (จำนวน 1,000 เล่ม)

– ภายในประกอบด้วย บทสัมภาษณ์ มุมมอง แนวความคิด ของ ศิลปิน 14 ท่าน จาก 4 จังหวัด ประกอบด้วย อาทิ

       – ก่อนจะมาเป็น เสน่ห์ศิลป์พื้นถิ่น สู่ศิลป์ร่วมสมัย เรียบเรียงโดย ภิมนญ์รัฎณ์ เทียมเมือง

      ● สุโขทัย
       – นายสันติ พรมเพ็ชร : งานสังคมสู่งานศิลปะร่วมสมัย
       – นางวรีวรรณ โขนงนุช : ศิลปะกระจกร่วมสมัย และงานภาพจากเครื่องประดับแพรวพราว
       – นางสมสมัย เขาเหิน : Gold of Art ศิลปะร่วมสมัยของทองคำ
       – นางรวีวรรณ ขนาดนิด : ผ้นตีนจกสู่ผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย

      ● ลำปาง
       – นายเพทาย วงษ์พา : กะลาดีไซด์ รถม้ากะลาวิจิตร
       – นางทิวาพร ปินตาสี : ตุง โคมศรีล้านนาสู่ศิลป์ร่วมสมัย
       – นายจำรัค จีรปัญญาทิพ : สุนทรีย์ศิลป์หินทราย “มีลาน MELANN”

      ● ลำพูน
       – นายสมพล หล้าสกุล : แกะสลักไม้รูปเหมือนงานร่วมสมัย
      – นายถนัด สิทธิชัย : ตุ๊กตาชาวยองผ้าทอยกดอกลำพูน สู่งานร่วมสมัย

      ● เชียงใหม่
       – นายเพชร วิริยะ : งานแกะสลักไม้ร่วมสมัย บ้านจ๊างนัก
       – นายเบญจพล สิทธิประณีต : ฉลุลวดลายล้านนา และศิลปะงานตัดร่วมสมัย
       – นายสมทรัพย์ ศรีสุวรรณ : เครื่องปั้นคนโทน้ำ เครื่องปั้นดินเผาร่วมสมัย
       – นายเรืองกิตติ์ กนกปรีชาวุฒิ : เครื่องประดับจากชนเผ่าสู่งานร่วมสมัย
       – นายธนพล สายธรรม : จากดินสู่ศิลป์ร่วมสมัย

– กระดาษอาร์ตมันหนา 248 หน้า (ขนาด 145*210*20 มม.)

– 250- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** หนังสือจำหน่ายออกจากห้องสมุด มีรอยปั๊มบางจุด รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

The ART of the LAPIDARY

…..The ART of LIAPIDARY…..(หนังสือจำหน่ายออกจากห้องสมุดตำหนิเล็กน้อยครับ)……

– The ART of the LAPIDARY
– FRANCIS J. SPERISEN
– 1961

– Contents

      PREFACE

      ACKNOWLEDGMENTS
      – GEMS AND PRECIOUS STONES
      – PHYSICAL CHARACTERISTICS OF GEMS : Optical Properties
      – CLASSIFICATION OF GERMS : Photomidrographs of Inclusions in Gemstones
      – TOOLS AND EQUIPMENT : Minimum Wheel-Spidle Diameters
      – SAWING, SPECIMENT GRINDING, AND POLISHING : Specimum Polishing, Polishing Large, Flat Specimen Stones
      – CABOCHON CUTTING AND POLISHING
      – FACETED STONES : Styles of Cutting, Cutting Faceted Stones, Polishing Faceted Stones. Polishing, Special Treatment. Tin Lap With Tin Oxide. Tin Lap With Levigated Aluminum, Ruby Power, or Linde A-5175 Poeder
       – DRILLING HOLES IN STONES
       – ENGRAVING, CARVING, AND SCULPTURING : Carving and Sculpturing
       – MOSAIC, INTARSIA, INLAY, PARQUETRY : Parquetry
       – DIAMOND POLISHING

– ปกแข็งหนา 390 หน้า (ขนาด 165*240*25 มม.)

– 450- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** หนังสือจำหน่ายออกจากห้องสมุดมีรอยปั๊มประปราย สันมีรอยคราบมอมแมมเล็กน้อยหนึ่งจุด รูปเล่มแข็งแรงครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

101 ปี ละครวังสวนกุหลาบ ( จัดพิมพ์เนื่องในวาระครบรอบ 101 ปี ละครวังสวนกุหลาบ ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา )

…..รฦก ไว้ในวาระ 101 ปี ละครวังสวนกุหลาบ…..

– 101 ปี ละครวังสวนกุหลาบ ( จัดพิมพ์เนื่องในวาระครบรอบ 101 ปี ละครวังสวนกุหลาบ ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา )
– จัดพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2555

– ภายในแบ่งเนื้อหาออกเป็น 5 บทใหญ่ ประกอบด้วย

         – คำนำ

         – บทที่ 1 : ความเป็นมาเรื่องวังสวนกุหลาบ (แบ่งออกเป็น 2 หัวข้อใหญ่ภายในดังนี้)
             – พระประวัติ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา (แบ่งอออกเป็น 10 หัวข้อย่อย อาทิ)
                 – เฉลิมพระนาม
                 – พระราชพิธีโสกันต์
                 – ทรงผนวชเป็นสามเณร
                 – ดำรงพระยศนายร้อยตรี
                 – อื่น ๆ

             – พระประวัติสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย (แบ่งออกเป็น 7 หัวข้อย่อย อาทิ)
                 – เจิมหรือแต้มไว้ด้วยยอดธง
                 – เฉลิมพระนาม
                 – เสด็จไปทรงศึกษาต่างประเทศพร้อมกับพระเชษฐา
                 – อื่น ๆ

         – บทที่ 2 : คณะละครวังสวนกุหลาบ (แบ่งออกเป็น 13 หัวข้อภายใน อาทิ)
              – ปฐมเหตุ
              – ประวัติท้าวนารีวรคณารักษณ์
              – ครูละครวังสวนกุหลาบ (ครูที่สอนประจำ)
              – หม่อมครูนุ่ม นวรัตน์ ณ อยุธยา
              – หม่อมครูอึ่ง หรือแม่ครูอึ่ง หสิตะเสน
              – หม่อมครูแย้ม (อิเหนา)
              – อื่น ๆ

        – บทที่ 3 : ตัวละครในคณะวังสวนกุหลาบ (แบ่งออกเป็น 5 หัวข้อภายใน อาทิ)
              – รุ่นใหญ่ เกิดปีจอ – กุน (พ.ศ. 2441 – 2442)
              – รุ่นรองอันดับ 2 เกิดปีชวด – เถาะ (พ.ศ. 2443 – 2446)
              – อื่น ๆ

        – บทที่ 4 : การฝึกหัดนาฏศิลป์ในวังสวนกุหลาบ (แบ่งออกเป็น 8 หัวข้อภายใน อาทิ)
              – วิธีการฝึกหัดละครของวังสวนกุหลาบ
              – เรื่องที่แสดง
              – ประเภทละครใน
              – ประเภทละครนอก
              – อื่น ๆ

         – บทที่ 5 : อิทธิพลของละครวังสวนกุหลาบที่มีต่อวิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร (แบ่งออกเป็น 10 หัวข้อภายใน อาทิ)
              – อิทธิพลทางด้านการเรียนการสอน
              – รูปแบบการเรียนการสอน
              – วิธีการสอน
              – อุปกรณ์ในการฝึก
              – อิทธิพลทางด้านการแสดง
              – อื่น ๆ

        – บทสรุป

        – ภาคผนวก ก : ละครวังสวนกุหลาบ ขณะอยู่ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย
        – ภาคผนวก ข : ภาพโปสการ์ดละครวังสวนกุหลาบ

– ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนา 176 หน้า (ขนาด 185*258*13 มม.)

– 550- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

JOSEPH URBAN : ARCHITECTURE THEATRE OPERA FILM

…..โลกระหว่างแสงเงา….(ตำหนิพอสมควรครับ)…..

– JOSEPH URBAN : ARCHITECTURE THEATRE OPERA FILM
– RANDOLPH CARTER, ROBERT REED COLE
– 1992

– CONTENTS

      – Preface
      – Urban’s vienna, 1872 – 1911
      – Boston, 1911 – 1914
      – The Urbanity of Ziegfeld,s Follies
      – Into the Twenties : Family Matters and Return to Vienna
      – The Metropolitan Opera
      – Films : New york and Hollywood
      – Architecture : Palm Beach and New York
      – Four Theatres
      – The Last Year
      – Notes
      – A Guide to Sources
      – Acknowledgments
      – Index

– ปกแข็งกระดาษอาร์ตหนา 272 หน้า (ขนาด 240*310*35 มม.)

– 1,250- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** มีรอยคราบบางประปรายจากการจัดเก็บ ช่วงมึมสันขอบบนมีรอยถลอกพกช้ำ รูปเล่มแข็งแรงครับ.

( สามารถติดต่อดดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***