สกุลศิลปพระพุทธรูป ในประเทศไทย

…..ว่าด้วย ‘สกุลศิลปพระพุทธรูป ในประเทศไทย’….(ตำหนิเล็กน้อยครับ)…..

– สกุลศิลปพระพุทธรูป ในประเทศไทย
– โดย จิตร บัวบุศย์
– จัดพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2503

– ภายในแบ่งออกเป็น 10 หัวข้อใหญ่ พร้อมภาพสีขาวดำจำนวนร่วม 100 ภาพ ประกอบด้วย อาทิ

– คำนำ โดย จิตร บัวบุศย์ (จำนวน 14 หน้า)

– เราควรศึกษาแบบอย่างพระพุทธรูปด้วยหลักการอย่างไร (แบ่งออกเป็นหัวข้อย่อย อาทิ)
– ต้นกำเหนิด (อิงตามต้นฉบับจัดพิมพ์เดิม)
– การวิวัฒนาการ
– การพัฒนาการ
– การต่อเนื่อง
– อิทธิพลที่มองเห็นและที่มองไม่เห็น
– อื่น ๆ

– สกุลศิลป (แบ่งออกเป็นหัวข้อย่อย อาทิ)
– สกุลศิลปในอินเดียโดยย่อ
– สกุลศิลปคันธาราฐ (ประมาณ พ.ศ. 500-800)
– สกุลศิลปอันทรา (ประมาณ พ.ศ. 593-863)
– สกุลศิลปคุปตะ (พ.ศ. 863-1190)
– สกุลศิลปปาละวะ (พ.ศ. 980-1325)
– สกุลศิลป ปาละ – เสนา (พ.ศ. 1293-1743)
– อื่น ๆ

– เหตุใดในวงการศิลป จึงไม่นับ สกุลศิลป ลังกา หรือ ประเทศ อินเดียไกลอื่น ๆ เป็นต้นกำเนิดของการสร้างพระพุทธรูปในสุวรรณภูมิ
– ทฤษฎีและเทคนิคการสร้างพระพุทธรูป และรูปเคารพในอินเดีย
– การแบ่งสกุลศิลปในประเทศไทย
– สกุลศิลปต่างชาติในประเทศไทย (แบ่งออกเป็น อาทิ)
– สกุลศิลปต่างชาติ พุทธศตวรรษที่ 7-9 (สกุลศิลปอมราวดี)
– เชื้อชาติของศิลปิน
– เขตที่พบ
– หลักฐานอย่างอื่น
– ลักษณะสำคัญของพระพุทธรูป

– สกุลต่างชาติพุทธศตวรรษที่ 9-11 (สกุลศิลปคุปตะ) (แบ่งออกเป็น อาทิ)
– เชื้อชาติของศิลปิน
– เขตที่พบ
– หลักฐานที่พบ

– สกุลศิลปต่างชาติพุทธศตวรรษที่ 10-14 (สกุลศิลปปาละวะ) (แบ่งออกเป็น อาทิ)
– เชื้อชาติของศิลปิน
– เขตที่พบ
– ลักษณะสำคัญของพระพุทธรูป
– หลักฐานอย่างอื่น

– อื่น ๆ

– สกุลศิลปไทยในประเทศไทย (แบ่งออกเป็น อาทิ)
– สกุลศิลปไทยพุทธศตวรรษที่ 9-11 (สกุลศิลปไทย-คุปตะ)
– สกุลศิลปไทยพุทธศตวรรษที่ 10-14 (สกุลศิลปไทย – ปาละวะ)
– สกุลศิลปไทยพุทธศตวรรษที่ 13-18 (สกุลศิลปไทย – ปาละ – เสนา)
– อื่น ๆ

– หนังสือที่ใช้ค้นคว้า

– ส่วนของภาพประกอบขาวดำรวมร่วม 100 ภาพ

– ปกแข็งกระดาษอาร์ตหนารวม 167 หน้า (ขนาด 155*255*13 มม.)

– 450- จัดส่งลทบ.ฟรี

***หนังสือถูกซ่อมช่วงสันยึดเล่ม รูปเล่มและส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

พระราชพิธีสมโภชพระเจดีย์ศรีสุริโยทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสฉลองพระชนมพรรษา 5 รอบ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ส.ค. 2534)

……เกร็ดประวัติ และโบราณสถาน ในพระนครศรีอยุธยา ในหนังสือที่ระลึก เมื่อครา พระราชพิธีสมโภชพระเจดีย์ศรีสุริโยทัย…..

– พระราชพิธีสมโภชพระเจดีย์ศรีสุริโยทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสฉลองพระชนมพรรษา 5 รอบ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ส.ค. 2534)

– ภายในประกอบด้วย อาทิ

– พระมหากรุณาธิคุณสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรรมราชินีนาถ ในด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี

– บทนำ

– ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของอยุธยา (แบ่งออกเป็น อาทิ)
– ภูมิสถานที่ตั้ง
– การสถาปนากรุงศรีอยุธยา
– กรุงศรีอยุธยากับปัญหาภายใน

– ภูมิหลังสงครามไทย-พม่า (แบ่งออกเป็น อาทิ)
– ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของพม่า
– สายโซ่สัมพันธ์ที่ต่อเนื่อง

– สมเด็จพระสุริโยทัย
– พระเจดีย์ศรีสุริโยทัย (แบ่งออกเป็น อาทิ)
– วัดสบสวรรค์ที่ถูกลืม
– การค้นพบวัดสบสวรรค์
– พระเจดีย์ศรีสุริโยทัย

– การปรับปรุงบูรณะพระเจดีย์ศรีสุริโยทัย
– การสร้างพระพุทธปฏิมากร พระพุทธสุริโยทัยสิริกิติทีฆายุมงคล
– โบราณสถานและโบราณวัตถุที่น่าสนใจ ของ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (แบ่งออกเป็น อาทิ)
– วัดพนัญเชิง
– วัดใหญ่ชัยมงคล
– วัดพระศรีสรรเพชญ์
– วัดพระราม
– วัดมหาธาตุ (อธิบาย โดย ตรี อมาตยกุล)
– วัดราชบูรณะ
– วัดมเหยงคณ์
– วัดภูเขาทอง
– วัดไชยวัฒนาราม
– วัดหน้าพระเมรุ
– วัดสุวรรณดาราราม
– อื่น ๆ

– กระดาษอาร์ตหนา 152 หน้า (ขนาด 210-285*15 มม.)

– 390- จัดส่งลทบ.ฟรี

*** ปก หน้า/หลัง พกช้ำบาง รูปเล่มและภายใน แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี (ไทย/อังกฤษ)

…..ท่องทัศนาใน “อุทยานประวัติศาสตร์ พระนครคีรี”…( ตำหนิเล็กน้อยครับ )……

– อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี (ไทย/อังกฤษ)
– จัดพิมพ์โดย กรมศิลปากร
– ฉบับจัดพิมพ์ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2552

– ภายในแบ่งออกเป็น 9 หมวดใหญ่ ประกอบด้วย

– คำนำในการจัดพิมพ์

– แผนผังพระนครคีรี
– แผนที่จังหวัดเพชรบุรี
– พระนครคีรี ( เนื้อหาภายประกอบด้วย อาทิ )
– ยอดเขาด้านทิศตะวันออก
– พระอุโบสถ
– พระสุทธเสลเจดีย์
– หอระฆัง
– ศาลาและพระปรางค์แดง
– ยอดกลาง
– อื่นๆ

– การบูรณะ พระนครคีรี ( เนื้อหาภายใน ประกอบด้วย อาทิ )
– การบูรณะพระนครคีรี
– ประวัติการบูรณะ
– งบประมาณการบูรณะ
– สภาพความเสื่อมโทรมของอาคาร สถานที่ต่างๆ
– อื่นๆ

– จดหมายเหตุการเสด็จพระราชดำเนิน ( เนื้อหาภายใน ประกอบด้วย อาทิ )
– จดหมายเหตุการเสด็จพระราชดำเนินพระนครคีรี ( รวบรวมจดหมายเหตุ ในวาระต่างๆ ไว้กว่า 16 ฉบับ (ตั้งแต่ ช่วงปี 2403-2453) )

– โบราณวัตถุ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครคีรี
– แผนผังอาคารต่างๆ ในอุทยานประวัติศาสตร์ พระนครคีรี
– อื่นๆ

– ปกแข็งชนิดกระดาษอาร์ตอ่อนหนา 232 หน้า ( ขนาด 145*210*15 มม. )

– 380- จัดส่งลทบ.ฟรี

*** ปก หน้า/หลัง มีรอยพกช้ำบางจากการจัดเก็บเล็กน้อย รูปเล่มแข็งแรงครับ.

( สามารถติดต่อดดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

THE SUAN PAKKAD PALACE COLLECTION

……ลัดเลาะไปใน “วังสวนผักกาด”….( ตำหนิเล็กน้อย )…..

– THE SUAN PAKKAD PALACE COLLECTION
– Text by Professor M.C. Subhadradis Diskul, Willaim L. Warren, Oragoon Pokakornijan, Viroon Baidikul
– Photographs by Chisak Warpituk
– 1991

– Contents

– Preface to the 1991 Edition by M.R.Sukhumbhand Paribatra

– Introduction : Prince Chumbhot of Nagara Svarga
– The Suan Pakkad Palace Collection : Professor M.C. Subharadis Diskul
– The Gardens of Suan Pakkad : Willaim Warren
– The Minerals of Suan Pakkad : Oragoon Pokakornvijan
– The Sell Collection at Suan Pakkad : Viroon Baidikul
– Picture Description
– Glossary

– ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนา 134 หน้า ( ขนาด 220*283*13 มม. )

– 650- จัดส่งลทบ.ฟรี

**** ใบหุ้มปกพกช้ำถลอกบางเล็กน้อย รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( ติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

ศิลปในประเทศไทย

….ร้อยเรียงถักทอด้วยเรื่องราว และร่วม 100 ภาพ ว่าด้วย “ศิลปในประเทศไทย” ….( ตำหนิเล็กน้อยครับ )…..

– ศิลปในประเทศไทย
– โดย ศ. มจ. สุภัทรดิศ ดิศกุล
– ฉบับจัดพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2513 ( เป็นครั้งที่ 3 )

– ภายในแบ่งเป็น 11 หัวเรื่องใหญ่ ประกอบด้วย

– คำนำ

– วัตถุรุ่นเก่าที่ค้นพบในประเทศไทย
– สมัยทวารรวดี ( พุทธศตวรรษที่ 11 หรือ 12-16 )
– เทวรูปรุ่นเก่า ( พุทธศตวรรษที่ 12-14 )
– สมัยศรีวิชัย ( พุทธศตวรรษที่ 13-18 )
– สมัยลพบุรี ( พุทธศตวรรษที่ 16-18 )
– สมัยเชียงแสน ( ศักราชยังไม่แน่นอน ราวพุทธศตวรรษที่ 16-23 )
– สมัยสุโขทัย ( พุทธศตวรรษที่ 19-20 )
– สมัยอู่ทอง ( ราวพุทธศตวรรษที่ 17-20 )
– สมัยยุธยา ( พุทธศตวรรษที่ 20-23 )
– สมัยรัตนโกสินทร์ ( พุทธศตวรรษที่ 24-25 )
– บัญชีรายชื่อศิลป ในประเทศไทย

– หนารวมร่วมกว่า 200 หน้า ( ขนาด 184*243-10 มม. )

– 450- จัดส่งลทบ.ฟรี

**** ใบรองปกและด้านในมีรอยดินสอขีดใต้ความไว้ประปราย รอยปากกาจุดเล็กประมาณ 2-3 จุด หน้าครบรูปเล่มสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อดดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

มกุฏกษัตริยานุสรณ์ ( โครงการบูรณปฏิสังขรณ์โบราณสถานวัดมกุฏกษัตริยาราม เนื่องในโอกาสวันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ครบ 200 ปี )

…..ที่ระลึก เนื่องในโครงการบูรณปฏิสังขรณ์ “วัดมกุฏกษัตริยาราม”….( ตำหนิเล็กน้อย )…..

– มกุฏกษัตริยานุสรณ์ ( โครงการบูรณปฏิสังขรณ์โบราณสถานวัดมกุฏกษัตริยาราม เนื่องในโอกาสวันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ครบ 200 ปี )
– ฉบับจัดพิมพ์เป็นครั้งที่ 2 / พ.ย. 2553
– ที่ปรึกษาบรรณาธิการ โดย ศ. (พิเศษ) ทองต่อ กล้วยไม้ ณ อยุธยา

– ภายในแบ่งเป็น 5 หมวดใหญ่ ประกอบด้วย

– ปณิธานแห่งองค์ธรรมิกรราช
– มกุฏกษัตริยานุสรณ์
– วัดมกุฏกษัตริยาราม ธรรมะพิสุทธิ์แห่งพระพุทธศาสนา ( ภายในประกอบด้วยหัวเรื่องย่อย อาทิ )
– ขยายพระนครด้วยการขุดคลอง
– สืบธรรมเนียม สร้าง “วัดคู่”
– พระวิหาร
– หน้าบันพระวิหาร
– เสาภายนอกพระวิหาร
– บานประตูและหน้าต่างพระวิหาร
– จิตรกรรมในพระวิหาร
– พระประธานพระวิหาร
– อื่นๆ

– ธำรงศรัทธาไทยให้วัฒนา ( ภายในประกอบด้วยหัวเรื่องย่อย อาทิ )
– การบูรณปฏิสังขรณ์วัดมกุฏกษัตริยาราม จากอดีตสู่ปัจจุบัน
– อื่นๆ

– ผสานพลังอนุรักษ์และพัฒนา

– ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนา 97 หน้า ( ขนาด 230*230*08 มม. )

– 350- จัดส่งลทบ.ฟรี

*** ปกหน้าช่วงมุมขอบมีรอยถลอกเล็กน้อย รูปเล่มและส่วนอื่นๆ สมบูรณ์แข็งแรงครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

วัดประจำ 9 รัชกาล จักรีวงศ์

…..ว่าด้วยแปดวัดประจำ 9 รัชกาล จักรีวงศ์…..( หนังสือจำหน่ายออกจากห้องสมุด สภาพสมบูรณ์ครับ )…..

– วัดประจำ 9 รัชกาล จักรีวงศ์
– รวบรวมเรียบโดย ทัศนีย์ ยาวะประภาษ และ กองบรรณาธิการ สนพ.ไทยวัฒนาพานิช
– ฉบับจัดพิมพ์ครั้งที่ 2 / 2544

– ภายในแบ่งเป็น 9 บทใหญ่ ประกอบด้วย

– คตินิยมการสร้างวัดประจำรัชกาล
– วัดประจำรัชกาลที่ 1 : วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร
– วัดประจำรัชกาลที่ 2 : วัดอรุณราชวรรามราชวรมหาวิหาร
– วัดประจำรัชกาลที่ 3 : วัดราชโอรสมหาราชวรราม
– วัดประจำรัชกาลที่ 4 : วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
– วัดประจำรัชกาลที่ 5 และ 7 : วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
– วัดประจำรัชกาลที่ 6 : วชิราวุธวิทยาลัย
– วัดประจำรัชกาลที่ 8 : วัดสุทัศนเทพวรารามราชมหาวิหาร
– วัดประจำรัชกาลที่ 9 : วัดญาณสังวรรามวรมหาวิหาร

– คำศัพท์น่ารู้ และ บรรณานุกรม

– ปกแข็งกระดาษอาร์ตมันหนา 88 หน้า ( ขนาด 215*300*10 มม. )

– 350- จัดส่งลทบ.ฟรี

**** หนังสือจำหน่ายออกจากห้องสมุด ใบรองปก หน้า มีรอยปั๊มหนึ่งจุด หลัง มีรอยถลอกสึกจากคราบกาวเดิมเล็กน้อย รูปเล่มแข็งแรงและส่วนอื่นๆ สมบูรณ์ครับ.

( ติดต่อดดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

เตาแม่น้ำน้อย ( รายงานการสำรวจและขุดค้น เตาแม่น้ำน้อย ต.เชิงกลัด อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี )

….ค้นขุดลงลึกแกะรอยไปตามเรื่องราว ของ “เตาแม่น้ำน้อย”….( หนังสือจำหน่ายออกจากห้องสมุดครับ )…..

– เตาแม่น้ำน้อย ( รายงานการสำรวจและขุดค้น เตาแม่น้ำน้อย ต.เชิงกลัด อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี )
– เรียบเรียงโดย นายสายันต์ ไพรชาญจิตร์
– จัดพิมพ์ครั้งแรก ธ.ค. 2531 ( จำนวน 2,000 เล่ม )

– ภายในประกอบด้วย อาทิ

– คำนำ / บทนำ
– ภูมิศาสตร์สิงห์บุรีและแม่น้ำน้อย
– การสำรวจแหล่งเตาแม่น้ำน้อย
– การขุดค้น
– เตาหมายเลข 1/5
– เตาหมายเลข 2
– ผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาแหล่งเตาแม่น้ำน้อย
– อายุสมัย
– บทบาทของเครื่องปั้นดินเผาจากแหล่งเตาแม่น้ำน้อยในตลาดการค้าระหว่างประเทศ
– ความสับสนในการแปลความแหล่งผลิตไหสี่หูเคลือบสีน้ำตาลที่พบในแหล่งเรือจมในอ่าวไทยและในต่างประเทศ
– อื่นๆ

– หนา 96 หน้า ( ขนาด 185*260*05 มม. )

– 280- จัดส่งลทบ.ฟรี

*** หนังสือจำหน่ายออกจากห้องสมุดมีรอยปั๊มประปราย ปกหน้าพกช้ำบางเล็กน้อย รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

ย้อนรอยอารยะ เมืองพระนคร

…..เข้าไปในฐานรากและโครงสร้าง จาก ย้อนรอยอารยะ “เมืองพระนคร”…( ตำหนิเล็กน้อยครับ )….

– ย้อนรอยอารยะ เมืองพระนคร
– โดย ซากส์ ดูมาร์เซย์
– แปลและเรียบเรียงโดย วีระ ธีรภัทร
– ฉบับพิมพ์ครั้งเมื่อ ก.ค. 2548

– ภายในแบ่งเนื้อหาเป็น 9 บทตอนประกอบด้วย

– คำนำ / คำปรารภ / คำชี้แจง

– บทนำ
– เทคนิคทางสถาปัตยกรรมและองค์ประกอบ
– ที่ตั้งเมืองพระนครยุคแรกเริ่ม : ร่อลวย (หริหราลัย)
– ยโศธรปุระ นครที่ล้อมรอบพนมบาแค็ง
– นครของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1
– ปราสาทนครวัดและพระเจ้สุริยวรทันที่ 2
– นครธม นครของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
– สิ่งก่อสร้างนอกกำแพงเมืองในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
– การล่มสลายของเมืองพระนครและการฟื้นฟู

– ภาคผนวก / บรรณานุกรม

– หนา 112 หน้า ( ขนาด 128*185*08 มม. )

– 200- จัดส่งลทบ.ฟรี

***** มีรอยปากกาขีดใต้ความในช่วงหน้าต้นประปรายเล็กน้อย รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

วิหารล้านนา

……ยืนชมเพ่งพิศในถ้อยคำจาก “วิหารแห่งล้านนา”….(ทตำหนิเล็กน้อยครับ )…..

– วิหารล้านนา
– โดย วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์
– พิมพ์ครั้งแรก ต.ค. 2544

– ภายในแบ่งเป็น 5 บทใหญ่ ประกอบด้วย

– คำนำ สนพ. / ผู้เขียน

– บทนำ

– บทบาทหน้าที่และลักษณะวิหารล้านนา ( ภายในแบ่งเป็น 8 หัวเรื่องย่อย ประกอบด้วย อาทิ )
– ความหมายของวิหารและมูลเหตุแห่งการสร้างวิหาร
– พัฒนาการของวิหาร
– ความคิด ความเชื่อในการสร้างวิหารล้านนา
– การวางตำแหน่งวิหารล้านนา
– อื่นๆ

– วิหารล้านนาในช่วงก่อน พ.ศ. 2400 : ประวัติ และลักษณะทางสถาปัตยกรรม ( ภายใน ประกอบด้วย 10 หัวข้อและวิหารต่างๆ อาทิ )
– การสำรวจอาคารทางศาสนาของล้านนาที่มีอายุก่อน พ.ศ. 2400
– วิหารหลวง วัดพระธาตุลำปางหลวง อ.เกาะคา จ.ลำปาง
– วิหารพระพุทธ วัดพระธาตุปางหลวง อ.เกาะคา จ.ลำปาง
– วิหารวัดแต้ม วัดพระธาตุลำปางหลวง อ.เกาะคา จ.ลำปาง
– วิหารจามเทวี วัดปงยางคก ต.ปงยางคก อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง
– อื่นๆ

– วิเคราะห์ลักษณะของวิหาร ล้านนาระหว่างพุทธศตวรรษที่ 20-24 ( ภายในแบ่งเป็น 2 หัวเรื่องย่อย ประกอบด้วย )
– ลักษณะวิหารที่มีการสร้างระหว่าง พุทธศตวรรษที่ 20-24
– ลักษณะแผนผังของวิหาร

– ลวดลายสัญลักษณ์ และคติความเชื่อ

– บทสรุป

– บรรณานุกรม

– หนา 368 หน้า ( ขนาด 165*240*17 มม. )

– 550- จัดส่งลทบ.ฟรี

**** สันข่วงมุมขอบบนมีรอยถลอกพกช้ำจุดเล็ก รูปเล่มและในส่วนอื่นๆสมบูรณ์แข็งแรงครับ.