KIETTISAK : A RETROSPECTIVE ( เกียรติศักดิ์ ชานนนารถ : การแสดงศิลปกรรมย้อนหลัง ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป เมื่อ 4 – 31 ต.ค. 2544 )

……นัยน์ถ้อยคำ ในช่วง 33 ปี (2511- 2544) ของ “อ.เกียรติศักดิ์ ชานนนารถ (ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ปี 2549) “……

– KIETTISAK : A RETROSPECTIVE ( เกียรติศักดิ์ ชานนนารถ : การแสดงศิลปกรรมย้อนหลัง ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป เมื่อ 4 – 31 ต.ค. 2544 )

■ ภายในประกอบด้วย

       ● คำนำ
       ● ความเป็นมาในอดีต
       ● แนวทางสร้างสรรค์
       ● วิธีดำเนินการสร้างสรรค์
       ● วิเคราะห์การสร้างสรรค์
       ● บรรณานุกรม

       ● On Creating My Works of Art
       ● ผลงานศิลปะ พ.ศ. 2511 – 2544
       ● ภาพร่างผลงานศิลปะ
       ● ประวัติและการแสดงงานศิลปะ

– ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนา 144 หน้า (ขนาด 210*290*15 มม.)

– 450- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** ปกหนังมีรอยเปื้อนสีเล็กน้อย รูปเล่มและส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

■■■

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

■■■

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ : พระอัจฉริยภาพล้ำเลิศ (เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี)

#นิยมรัก.#หนังสือที่ระลึก.#นิทรรศการบนหน้ากระดาษ.#จิตรกรรมฝีพระหัตถ์พระอัจฉริยภาพล้ำเลิศ.#ฉลองสิริราชสมบัติครบเจ็ดสิบปี.#สิบสี่พฤศจิกาหกหก.

( #Kc_1411230301. ) :: Line ID : Kang_Crate

……”จิตรกรรมฝีพระหัตถ์” เมื่อปี 2560…(ตำหนิเล็กน้อยครับ)……

– จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ : พระอัจฉริยภาพล้ำเลิศ (เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี)
– บรรณาธิการภาพ โดย นายสิงห์คม บริสุทธิ์
– พิมพ์เผยแพร่ ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2560 (จำนวนจัดพิมพ์ 3,000 เล่ม)

■ ภายในเนื้อหาประกอบด้วย

       – คำปรารภ / คำนำ

      ● พระราชประวัติ (จำนวน 30 หน้า)
      ● พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกับงานจิตรกรรม (จำนวน 15 หน้า)
      ● จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ (จำนวน 114 หน้า)
      ● การอนุรักษ์จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ (จำนวน 41 หน้า)

      – บรรณานุกรรม / คณะผู้จัดทำ

– กระดาษอาร์ทหนารวม 208 หน้า (ขนาด 215*298*25 มม.)

– 890- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** ปก หน้า/หลัง มอมแมมเล็กน้อย ช่วงปกหน้าตัวอัษรและช่วงภาพสีซีดจางสึกถลอกบางเล็กน้อย รูปเล่มและส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

AMARIN COPARATE PARK ( ที่ระลึกเนื่องในวโรกาส สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารใหม่ Aaron Coparate Park เมื่อ 9 พ.ย.2547 )

#นิยมรัก.#ในโลกจิตที่หลงรัก.#นิทรรศการบนหน้ากระดาษ.#หนังสือที่ระลึก.#สูจิบัตร.#AmarinCorporatePark.#เก้าพฤศจิกาหกหก.

( #Kc_0911230301. ) :: Line ID : Kang_Crate

…..21 ผลงานจาก 21 ศิลปิน ในศิลปกรรมรำลึก “ชูเกียรติ อุทกพพันธุ์” ที่ระลึกเมื่อครั้งเปิดตึกใหม่ เมื่อ ปี 2547….

– AMARIN COPARATE PARK ( ที่ระลึกเนื่องในวโรกาส สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารใหม่ Aaron Coparate Park เมื่อ 9 พ.ย.2547 )

– ภายในแบ่งเป็น 2 ภาคใหญ่ดังนี้

 
      ● ภาคหนึ่ง : อมรินทร์คอร์เปอเรทปาร์ค
           – คำนำ
           – ความเป็นมา การก่อตั้ง สถาปัตยกรรม ต่าง ๆ

      ● ภาคสอง : โครงการศิลปกรรมรำลึก
            – คำนำ
            – 21 ผลงานจาก 21 ศิลปิน อาทิ : ประหยัด พงษ์ดำ, ปรีชา เถาทอง, สมชัย กตัญญุตานันท์ (ชัย ราชวัตร), พิษณุ ศุภนิมิตร, วทัญญู ณ ถลาง, บรม คมเวช, จินตนา เปี่ยมศิริ, ธีระวัฒน์ คะนะมะ, อิงอร หอมสุวรรณ์, เนติกร ชินโย, ถาวร โอุดมวิทย์, วิทยา สุดประเสริฐ และท่านอื่น ๆ

– กระดาษอาร์ตมันหนา 115 หน้า (ขนาด 242*293*13 มม.)

– 450- จัดส่งลทบ.ฟรี.

*** ใบหุ้มปกพกช้ำบาง รูปเล่มและส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

พัดรองงานพระราชพิธี ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทมรมหาภูมิพลอดุลยเดช ( ที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสงานฉลองพระชันษา 100 ปี สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก 3 ตุลาคม 2556 )

……ว่าด้วย “พัดรองงานพระราชพิธีในรัชกาลพระบามสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” (พร้อมกล่องส่วน : ตำหนิเล็กน้อยครับ)……

– พัดรองงานพระราชพิธี ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทมรมหาภูมิพลอดุลยเดช ( ที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสงานฉลองพระชันษา 100 ปี สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก 3 ตุลาคม 2556 )
– จัดพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2556

● ภายในประกอบด้วย

         – คำปรารภ
         – ความหมายตราสัญลักษณ์

         – บทที่ 1 ตาลปัตร : สมณบริขารสำหรับพระสงฆ์ (แบ่งย่อยภายในออกเป็น อาทิ)
             – ความหมาย
             – ตาลปัตรในพุทธประวัติและประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
             – มูลเหตุในการใช้ตาลปัตร
             – พัดยศสมณศักดิ์
             – สมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทยปัจจุบัน
             – ลักษณะของพัดยศสมณศักดิ์ (อาทิ)
                – พัดหน้านาง
                – พัดพุดตาน
                – ฯ

            – พัดยศพิเศษ (อาทิ)
                – ตาลปัตรแฉกงานปรุ
                – พัดแฉกถมปัด
                – ฯ

           – พัดยศประจำตำแหน่ง (อาทิ)
                – สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
                – สมเด็จพระราชาคณะ ชั้นสุพรรณบัฏ
                – ฯ

           – สมณศักดิ์ของพระอนัมนิกายและพระจีนนิกายในไทย (อาทิ)
                – พระสงฆ์อนัมนิกาย
                – พระสงฆ์จีนนิกาย

           – ฯลฯ

       – บทที่ 2 : พัดรัตนาภรณ์กรุงรัตนโกสินทร์ (แบ่งย่อยภายในออกเป็น อาทิ)
            – ความเป็นมา
            – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 4 – รัชกาลที่ 9
            – พัดรัตนาภรณ์ (พัดรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 4 – รัชกาลที่ 9)
            – พัดรัตนาภรณ์ถวายพระพุทธรูปสำคัญ

        – บทที่ 3 : พัดรองที่ระลึกงานพระราชพิธี ในรัชกาลพระบามสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดช (แบ่งย่อยภายในออกเป็น อาทิ)
             – งาพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาและฉลองพระชนมายุ ครบรอบปีนักษัตร
             – งานพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติ
             – ฯ

         – บที่ 4 : พัดรองที่ระลึกในโอกาสฉลองพระราชวงศ์ทรงได้รับการประกาศพระเกียรติคุณเป็นบุคคลสำคัญของโลก (แบ่งย่อยภายในออกเป็น อาทิ)
              – ภารกิจของยูเนสโก
              – หลักเกณฑ์ของยูเนสโก
              – พระราชวงศ์ที่ทรงได้รับการประกาศพระเกียรติคุณ

         – บทที่ 5 : พัดรองที่ระลึกสร้างถวายพระเถระผู้ใหญ่ในโอกาสพิเศษ

– ปกแข็งกระดาษอาร์ตหนา 308 หน้า (ขนาด 220*310*40 มม.)(พร้อมกล่องสวม)

– 1,250- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** ช่วงสันและขอบพกช้ำบางจากการจัดเก็บรูปเล่มและส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

ราชประดิษฐ พิพิธบรรณ ( จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสที่วันพระบรมสมภพครบ 206 ปี (18.ต.ค.2553) และคล้ายวันสวรรคต (1 ต.ค. 2553) ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว )

…..พิศในพิพิธสถานแห่ง ราชประดิษฐ….(ตำหนิเล็กน้อยครับ)……

– ราชประดิษฐ พิพิธบรรณ ( จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสที่วันพระบรมสมภพครบ 206 ปี (18.ต.ค.2553) และคล้ายวันสวรรคต (1 ต.ค. 2553) ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว )
– บรรณาธิการโดย พิชญา สุ่มจินดา
– จัดพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ก.ย.2553 ( จำนวน 3,000 เล่ม )

– ภายในแบ่งเนื้อหาออกเป็น 5 หมวดใหญ่ ประกอบด้วย อาทิ

          – “ราชประดิษฐพิพิธบรรณ” กับวัดเล็ก ๆ ที่เรียกว่า “วัดราชประดิษฐ ฯ” (โดย พิชญา สุ่มจินดา (บรรณาธิการ))

          ● ภายในประกอบด้วย
         
          ● หมวดประวัติพระอาราม (ประกอบด้วย)
                – พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5 ว่าด้วย วัดพระนามบัญญัติ วัดราชประดิษฐ
                – ความผูกพันที่รัชกาลที่ 4 ทรงมีต่อวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม (โดยหม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรี)
     
           ● หมวดประติมากรรม (ประกอบด้วย)
                – พระพุทธชินราช พระพุทธชินศรี และพระศรีศาสดา “จำลอง” ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม (โดย พิชญา สุ่มจินดา)
                – ตุ๊กตาศิลจีน “โป๊ยเซียน” หน้าพระวิหารหลวง วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม (โดย ศานติ-นวรัตน์ ภักดีคำ)

            ● หมวดสถาปัตยกรรม (ประกอบด้วย)
                 – พระที่นั่งทรงธรรม : วัดราชประดิษฐมหาสีมาราม (หม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรี)
                 – หอระฆังยอดทรงมงกุฎ และระฆังแบบฝรั่ง จารึกพระปรมาภิไธยย่อ ของรัชกาลที่ 4 ที่วัดราชประดิษฐ ฯ (โดย พิมพ์พร ไชยพร)

            ● หมวดจิตรกรรม (ประกอบด้วย)
                  – สุริยุปราคาในวังหลวง (โดย สุรชัย จงจิตงาม)
                  – มายาภาพสี่ทศวรรษ : จิตรกรรมพระราชพิธีเดือนเก้า ที่วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม (โดย ฉัตรบงกช ศรีวัฒนสาร)

           ● หมวดศาสนวัตถุ (ประกอบด้วย)
                  – เครื่องบริขารและโบราณวัตถุสำคัญของสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สา ปุสฺสเทโว ที่เก็บรักษาอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร (โดย ณัฏฐภัทร จันทวิช)
                  – บุษบกธรรมาสน์ยอดมงกุฎ ในการเปรียญวัดราชประดิษฐ ฯ (โดย พิชญา สุ่มจินดา)

– หนา 239 หน้า (ขนาด 165*240*15 มม.)


– 450- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** มุมขอบล่างช่วงหลังมีรอยพกช้ำเล็กน้อย ภายในและรูปเล่มส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

78 ปี ของการรักษาศิลปวัฒนธรรม (หนังสือที่ระลึก เมื่อ 27 มี.ค. 2531)

…….78 ปี ของการรักษาศิลปวัฒนธรรม…(หนังสืออภินัน ฯ : ตำหนิเล็กน้อยครับ)……..

– 78 ปี ของการรักษาศิลปวัฒนธรรม (หนังสือที่ระลึก เมื่อ 27 มี.ค. 2531)

– เนื้อหาภายในประกอบด้วย อาทิ

        – คำนำ

        – บันทึกเหตุการณ์การได้ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์คืน (โดย พิสิฐ เจริญวงศ์)(จำนวน 13 หน้า)
        – ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์กับปัญหาในกฎหมายระหว่างประเทศ (โดย ประสิทธิ์ เอกบุตร)(จำนวน 6 หน้า)
        – ความเข้าใจในเรื่องการขึ้นทะเบียนโบราณสถาน โบราณวัตถุ และศิลปวัตถุ (โดย อดิศักดิ์ เช็กรัตน์)(จำนวน 8 หน้า)
        – อุทยานประวัติศาสตร์ พิมาย (โดย บวรเวท รุ่งรุจี)(จำนวน 6 หน้า)
        – อาคารถาวรวัตถุหน้าวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ (โดย สานิต เย็นทรวง)(จำนวน 2 หน้า)
        – ที่ดินโบราณสถานกำแพงเมืองคูเมือง (โดย เรวดี สกุลพาณิชย์)
        – พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง (โดย อารีพร อำนวยกิจเจริญ)
        – พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอุบลราชธานี (โดย สุกิจ เที่ยงมณีกุล)
         – ปราสาทเขาน้อยสีชมพู (โดย นวรัตน์ มงคลคำนวณเขตต์)(จำนวน 6 หน้า)
         – พระที่นั่งชัยมังคลาภิเษก (โดย อดิศักดิ์ เซ็กรัตน์)(จำนวน 6 หน้า)
          – ทรัพยากร บุคคลดีเด่นของกรมศิลปากร ในรอบปี 2531)(จำนวน 4 หน้า)
          – ประวัติกรมศิลปากร
          – ตึกที่ทำการกรมศิลปากรและวังเก่า (จำนวน 5 หน้า)
          – ผลการดำเนินงานของกรมศิลปากร พ.ศ. 2531 (โดย ศักดิ์สิทธิ์ พึงใจ)
          – หนังสือที่กรมศิลปากรจัดพิมพ์ประจำปี 2531 (โดย สิต วงษ์ชมภู)

– ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนา 72 หน้า (ขนาด 210*290*05 มม.)

– 200- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** หนังสืออภินัน ฯ : มีรอยเจาะเย็บเชือกเพื่อความแข็งแรงที่สันเปิด มีรอยปากกาบางจุด รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

เอกะทศวรรษ ศิลปาธร ( ในวาระครบรอบ 10 ปี แห่งการก่อตั้งโครงการรางวัลศิลปาธร เมื่อ พ.ศ. 2557 )

……กว่า 50 ศิลปิน ในวาระครบรอบ 10 ปี การก่อตั้งโครงการรางวัลศิลปาธร เมื่อ พ.ศ. 2557…(จัดพิมพ์จำนวน 1,000 เล่ม : ตำหนิเล็กน้อยครับ)…….

– เอกะทศวรรษ ศิลปาธร ( ในวาระครบรอบ 10 ปี แห่งการก่อตั้งโครงการรางวัลศิลปาธร เมื่อ พ.ศ. 2557 )
– จัดพิมพ์ครั้งแรก ก.ย. 2557 (จำนวนจัดพิมพ์ 1,000 เล่ม)

– เนื้อหาภายในเล่มประกอบด้วย อาทิ

         – บทเกริ่นนำ โดย เขมชาติ เทพไชย (ผอ.สนง.ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย)
 
         ● ลำดับศิลปินและผลงานบางส่วนเรียงลำดับดังนี้ อาทิเช่น
        
         ■ สาขาทัศนศิลป์

           – เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2547)
           – พรชัย ใจมา (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2548)
           – ชาติชาย ปุยเปีย (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2549)
           – วสันต์ สิทธิเขตต์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2550)
           – ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2550)
           – พินรี สัณฑ์พิทักษ์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2550)
           – อารยา ราษฎร์จำเริญสุข (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2551)
           – สาครินทร์ เครืออ่อน (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2552)
           – พัดยศ พุทธเจริญ (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2552)
           – นาวิน ลาวัลย์ชัยกุล (ศิลปินศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ปี 2553)

         ■ สาขาวรรณศิลป์

          – ชาติ กอบจิตติ (ศิลปินศิลปาธร สาขาวรรณศิลป์ ปี 2547)
          – ศักดิ์สิริ มีสมสืบ (ศิลปินศิลปาธร สขาวรรณศิลป์ ปี 2548)
          – วินทร์ เลียววาริณ (ศิลปินศิลปาธร สาขาวรรณศิลป์ ปี 2549)
          – ศิริวร แก้วกาญจน์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาวรรณศิลป์ ปี 2550)
          – ขจรฤทธิ์ รักษา (ศิลปินศิลปาธร สาขาวรรณศิลป์ ปี 2551)
          – ไพวรินทร์ ขาวงาม น์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาวรรณศิลป์ ปี 2550)
          – อรสม สุทธิสาคร น์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาวรรณศิลป์ ปี 2552)
          – เสน่ห์ สังข์สุข น์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาวรรณศิลป์ ปี 2553)
         
         ■ สาขาคีตศิลป์

          – ดนู ฮันตระกูล น์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาคีตศิลป์ ปี 2547)
          – บัณฑิต อึ้งรังษี (ศิลปินศิลปาธร สาขาคีตศิลป์ ปี 2548)
          – ณัฐ ยนตรรักษ์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาคีตศิลป์ ปี 2549)

         ■ สาขาดนตรี

          – ณรงค์ ปรางค์เจริญ (ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรี ปี 2550)
          – ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร (ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรี ปี 2551)
          – สมเถา สุจริตกุล (ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรี ปี 2551 รางวัลศิลปาธรกิตติคุณ)
          – เด่น อยู่ประเสริฐ (ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรี ปี 2552)
          – บรูซ แกสตัน (ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรี ปี 2552 รางวัลศิลปาธรกิตติคุณ)
          – ชัยยุทธ โตสง่า (ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรี ปี 2553)

         ■ สาขาศิลปะการแสดง

          – ประดิษฐ ประสาททอง (ศิลปินศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ปี 2547)
          – มานพ มีจำรัส (ศิลปินศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ปี 2548)
          – พิเชษฐ กลั่นชื่น (ศิลปินศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ปี 2549)
          – นิมิตร พิพิธกุล (ศิลปินศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ปี 2550)
          – สินีนาฏ เกษประไพ (ศิลปินศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ปี 2551)
          – ชนประคัลภ์ จันทร์เรือง (ศิลปินศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ปี 2552)
          – นิกร แซ่ตั้ง (ศิลปินศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ปี 2553)

         ■ สาขาภาพยนตร์

          – เป็นเอก รัตนเรือง (ศิลปินศิลปาธร สาขาภาพยนตร์ ปี 2547)
          – อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล (ศิลปินศิลปาธร สาขาภาพยนตร์ ปี 2548)
          – วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง (ศิลปินศิลปาธร สาขาภาพยนตร์ ปี 2549)
          – ธัญสก พันสิทธิวรกุล (ศิลปินศิลปาธร สาขาภาพยนตร์ ปี 2550)
          – นนทรีย์ นิมิบุตร (ศิลปินศิลปาธร สาขาภาพยนตร์ ปี 2551)
          – พิมพกา โตวิระ (ศิลปินศิลปาธร สาขาภาพยนตร์ ปี 2552)
          – อาทิตย์ อัสสรัตน์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาภาพยนตร์ ปี 2553)

         ■ สาขาออกแบบเชิงสร้างสรรค์

          – สมพิศ ฟูสกุล (ศิลปินศิลปาธร สาขาออกแบบเชิงสร้างสรรค์ ปี 2551)
          – ไสยาสน์ เสมาเงิน (ศิลปินศิลปาธร สาขาออกแบบเชิงสร้างสรรค์ ปี 2551 รางวัลศิลปาธรกิตติคุณ)
          – สุวรรณ คงขุนเทียน (ศิลปินศิลปาธร สาขาออกแบบเชิงสร้างสรรค์ ปี 2551 รางวัลศิลปาธรกิตติคุณ)
          – สมชาย จงเจริญ (ศิลปินศิลปาธร สาขาออกแบบเชิงสร้างสรรค์ ปี 2552)
          – กุลภัทร ยันตรศาสตร์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาออกแบบเชิงสร้างสรรค์ ปี 2552)
          – เอกรัตน์ วงษ์จริต (ศิลปินศิลปาธร สาขาออกแบบเชิงสร้างสรรค์ ปี 2552)
          – ปริญญา โรจน์อารยานนท์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาออกแบบเชิงสร้างสรรค์ ปี 2552)

          ■ สาขาสถาปัตยกรรม

           – ปฐมา หรุ่นรักวิทย์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาสถาปัตยกรรม ปี 2553)

          ■ สาขามัณฑนศิลป์

           – วิฑูรย์ คุณาลังการ (ศิลปินศิลปาธร สาขามัณฑนศิลป์ ปี 2553)

          ■ สาขาเรขศิลป์

           – ประชา สุวีรานนท์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาเรขศิลป์ ปี 2553)
  
          ■ สาขาออกแบบ

           – วศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ (ศิลปินศิลปาธร สาขาออกแบบ ปี 2553)

          ● ทำเนียบรายชื่อ ศิลปินศิลปาธร (พ.ศ. 2547-2553)

– ปกแข็งหุ้มปกกระดาษอาร์ตหนาร่วม 220 หน้า (ขนาด 250*350*25 มม.)

– 1,250- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** ใบหุ้มมอมแมมถลอกเล็กน้อย รูปเล่มและส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***
        

เสน่ห์ศิลป์พื้นถิ่น สู่ศิลป์ร่วมสมัย (หนังสือจากโครงการถ่ายทอดและส่งเสริมองค์ความรู้งานศิลปะร่วมสมัยในท้องถิ่นสถาบันวัฒนธรรมท้องถิ่น)

…..เสน่ห์ศิลป์พื้นถิ่น สู่ 14 ศิลปินร่วมสมัย..(หนังสือจำหน่ายออกจากห้องสมุด ตำหนิเล็กน้อยครับ)…..

– เสน่ห์ศิลป์พื้นถิ่น สู่ศิลป์ร่วมสมัย (หนังสือจากโครงการถ่ายทอดและส่งเสริมองค์ความรู้งานศิลปะร่วมสมัยในท้องถิ่นสถาบันวัฒนธรรมท้องถิ่น)
– พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ส.ค. 2557 (จำนวน 1,000 เล่ม)

– ภายในประกอบด้วย บทสัมภาษณ์ มุมมอง แนวความคิด ของ ศิลปิน 14 ท่าน จาก 4 จังหวัด ประกอบด้วย อาทิ

       – ก่อนจะมาเป็น เสน่ห์ศิลป์พื้นถิ่น สู่ศิลป์ร่วมสมัย เรียบเรียงโดย ภิมนญ์รัฎณ์ เทียมเมือง

      ● สุโขทัย
       – นายสันติ พรมเพ็ชร : งานสังคมสู่งานศิลปะร่วมสมัย
       – นางวรีวรรณ โขนงนุช : ศิลปะกระจกร่วมสมัย และงานภาพจากเครื่องประดับแพรวพราว
       – นางสมสมัย เขาเหิน : Gold of Art ศิลปะร่วมสมัยของทองคำ
       – นางรวีวรรณ ขนาดนิด : ผ้นตีนจกสู่ผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย

      ● ลำปาง
       – นายเพทาย วงษ์พา : กะลาดีไซด์ รถม้ากะลาวิจิตร
       – นางทิวาพร ปินตาสี : ตุง โคมศรีล้านนาสู่ศิลป์ร่วมสมัย
       – นายจำรัค จีรปัญญาทิพ : สุนทรีย์ศิลป์หินทราย “มีลาน MELANN”

      ● ลำพูน
       – นายสมพล หล้าสกุล : แกะสลักไม้รูปเหมือนงานร่วมสมัย
      – นายถนัด สิทธิชัย : ตุ๊กตาชาวยองผ้าทอยกดอกลำพูน สู่งานร่วมสมัย

      ● เชียงใหม่
       – นายเพชร วิริยะ : งานแกะสลักไม้ร่วมสมัย บ้านจ๊างนัก
       – นายเบญจพล สิทธิประณีต : ฉลุลวดลายล้านนา และศิลปะงานตัดร่วมสมัย
       – นายสมทรัพย์ ศรีสุวรรณ : เครื่องปั้นคนโทน้ำ เครื่องปั้นดินเผาร่วมสมัย
       – นายเรืองกิตติ์ กนกปรีชาวุฒิ : เครื่องประดับจากชนเผ่าสู่งานร่วมสมัย
       – นายธนพล สายธรรม : จากดินสู่ศิลป์ร่วมสมัย

– กระดาษอาร์ตมันหนา 248 หน้า (ขนาด 145*210*20 มม.)

– 250- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** หนังสือจำหน่ายออกจากห้องสมุด มีรอยปั๊มบางจุด รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

101 ปี ละครวังสวนกุหลาบ ( จัดพิมพ์เนื่องในวาระครบรอบ 101 ปี ละครวังสวนกุหลาบ ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา )

…..รฦก ไว้ในวาระ 101 ปี ละครวังสวนกุหลาบ…..

– 101 ปี ละครวังสวนกุหลาบ ( จัดพิมพ์เนื่องในวาระครบรอบ 101 ปี ละครวังสวนกุหลาบ ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา )
– จัดพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2555

– ภายในแบ่งเนื้อหาออกเป็น 5 บทใหญ่ ประกอบด้วย

         – คำนำ

         – บทที่ 1 : ความเป็นมาเรื่องวังสวนกุหลาบ (แบ่งออกเป็น 2 หัวข้อใหญ่ภายในดังนี้)
             – พระประวัติ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา (แบ่งอออกเป็น 10 หัวข้อย่อย อาทิ)
                 – เฉลิมพระนาม
                 – พระราชพิธีโสกันต์
                 – ทรงผนวชเป็นสามเณร
                 – ดำรงพระยศนายร้อยตรี
                 – อื่น ๆ

             – พระประวัติสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย (แบ่งออกเป็น 7 หัวข้อย่อย อาทิ)
                 – เจิมหรือแต้มไว้ด้วยยอดธง
                 – เฉลิมพระนาม
                 – เสด็จไปทรงศึกษาต่างประเทศพร้อมกับพระเชษฐา
                 – อื่น ๆ

         – บทที่ 2 : คณะละครวังสวนกุหลาบ (แบ่งออกเป็น 13 หัวข้อภายใน อาทิ)
              – ปฐมเหตุ
              – ประวัติท้าวนารีวรคณารักษณ์
              – ครูละครวังสวนกุหลาบ (ครูที่สอนประจำ)
              – หม่อมครูนุ่ม นวรัตน์ ณ อยุธยา
              – หม่อมครูอึ่ง หรือแม่ครูอึ่ง หสิตะเสน
              – หม่อมครูแย้ม (อิเหนา)
              – อื่น ๆ

        – บทที่ 3 : ตัวละครในคณะวังสวนกุหลาบ (แบ่งออกเป็น 5 หัวข้อภายใน อาทิ)
              – รุ่นใหญ่ เกิดปีจอ – กุน (พ.ศ. 2441 – 2442)
              – รุ่นรองอันดับ 2 เกิดปีชวด – เถาะ (พ.ศ. 2443 – 2446)
              – อื่น ๆ

        – บทที่ 4 : การฝึกหัดนาฏศิลป์ในวังสวนกุหลาบ (แบ่งออกเป็น 8 หัวข้อภายใน อาทิ)
              – วิธีการฝึกหัดละครของวังสวนกุหลาบ
              – เรื่องที่แสดง
              – ประเภทละครใน
              – ประเภทละครนอก
              – อื่น ๆ

         – บทที่ 5 : อิทธิพลของละครวังสวนกุหลาบที่มีต่อวิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร (แบ่งออกเป็น 10 หัวข้อภายใน อาทิ)
              – อิทธิพลทางด้านการเรียนการสอน
              – รูปแบบการเรียนการสอน
              – วิธีการสอน
              – อุปกรณ์ในการฝึก
              – อิทธิพลทางด้านการแสดง
              – อื่น ๆ

        – บทสรุป

        – ภาคผนวก ก : ละครวังสวนกุหลาบ ขณะอยู่ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย
        – ภาคผนวก ข : ภาพโปสการ์ดละครวังสวนกุหลาบ

– ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนา 176 หน้า (ขนาด 185*258*13 มม.)

– 550- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

นาฏศิลป์และดนตรีไทย ศูนย์สังคีตศิลป์ ( รวมสูจิบัตรการแสดงนาฏศิลป์และดนตรีไทย พ.ศ. 2522-2525 จัดแสดง ณ ศูนย์สังคีตศิลป์ )

……ว่าด้วย “นาฏศิลป์และดนตรีไทย” จาก สูจิบัตร ระหว่าง พ.ศ. 2522-2525 ของ ศูนย์สังคีตศิลป์……

– นาฏศิลป์และดนตรีไทย ศูนย์สังคีตศิลป์ ( รวมสูจิบัตรการแสดงนาฏศิลป์และดนตรีไทย พ.ศ. 2522-2525 จัดแสดง ณ ศูนย์สังคีตศิลป์ )
– จัดพิมพ์เผยแพร่ โดย ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (จำนวน 1,000 เล่ม)

– ภายในแบ่งเป็น 2 ภาคใหญ่ ประกอบด้วย

              – คำนำ จัดพิมพ์

              – ภาคที่ 1 : นาฏศิลป์ไทย (ประกอบด้วยกว่า 40 หัวข้อภายใน อาทิ)
                    – นาฏยาภรณ์ โดย อ. เสรี หวังในธรรม
                    – ระบำรำฟ้อน โรงเรียนราชทัศน์นาฏศิลป์
                     – ตลกโขน โดย อ. เสรี หวังในธรรม
                     – ดนตรีไทยสลับนาฏศิลป์ วิทยาลัยครูจันทรเกษม
                     – เสภาตลก โดย อ. เสรี หวังในธรรม
                     – ละครร้อง เรื่อง “หวนให้ใจหาย” คณะจันทโรภาส
                     – ตลกภาษา โดย อ. เสรี หวังในธรรม
                     – เริงรำทำเพลง โรงเรียนราชวินิต และโรงเรียนราชประชาอุปถัมภ์
                     – ปี่พาทย์ไม้แข็งเครื่องใหญ่ กองสันทนาการ กรุงเทพฯ
                     – ละคอนผู้ชาย โดย อ. เสรี หวังในธรรม
                     – ละคอนหญิง โดย อ. เสรี หวังในธรรม
                     – ฯลฯ

      
            – ภาคที่ 2 : ดนตรีไทย (ประกอบด้วย 25 เรื่องย่อยภายใน ประกอบด้วย อาทิ)
                      – ดนตรีนาฏศิลปสาธิตชุดไปเกาหลีและญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
                      – ดนตรีไทยมัธยมศึกษา โรงเรียนสตรีวิทยาและโรงเรียนวัดบวรนิเวศ
                      – ดนตรีไทยในวรรณคดี โดย อ. เสรี หวังในธรรม
                      – ดนตรีไทยมัธยมศึกษา โรงเรียนศรีอยุธยา
                      – ดนตรีไทยในพระธรรมวินัย โดย อ. เสรี หวังในธรรม
                      – เพลงหน้าพาทย์ โดย อ. เสรี หวังในธรรม
                      – ฯลฯ

– หนา 357 หน้า (ขนาด 192*263*18 มม.)

– 650- จัดส่งลทบ.ฟรี

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***