งานประมูลผลงานศิลปกรรมชั้นยอดของประเทศไทย : เพื่อจัดหาทุนสนับสนุนกิจกรรมเนื่องในโอกาสครบรอบ 60 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อ อาทิตย์ที่ 6 ต.ค. 2545

#นิยมรัก.#หนังสือที่ระลึก.#สูจิบัตร.#นิทรรศการบนหน้ากระดาษ.#งานประมูลผลงานศิลปกรรมชั้นยอดของประเทศไทย.#หกสิบปีมหาวิทยาลัยศิลปากร.#ยี่สิบสามพฤศจิกาหกหก.

( #Kc_2311230301. ) :: Line ID : Kang_Crate

……”กว่าหนึ่งร้อยชิ้น จากผลงานศิลปกรรมชั้นยอดของประเทศไทย” เนื่องในวาระครบรอบ 60 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร…(ตำหนิเล็กน้อยครับ)……

– งานประมูลผลงานศิลปกรรมชั้นยอดของประเทศไทย : เพื่อจัดหาทุนสนับสนุนกิจกรรมเนื่องในโอกาสครบรอบ 60 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อ อาทิตย์ที่ 6 ต.ค. 2545

■ ภายในประกอบด้วย

        ● สารจากอธิการบดี

        ● รายนามศิลปินที่บริจาคผลงาน (กว่า 80 นาม อาทิ)
             – พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์
             – ชวน หลีกภัย
             – ถวัลย์ ดัชนี
             – จักรพันธุ์ โปษยกฤต
             – เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์
             – เขียน ยิ้มศิริ
             – ชลูด นิ่มเสมอ
             – อารยา ราษฏร์จำเริญสุข
             – ปรีชา เถาทอง
             – ปริญญา ตันติสุข
             – พิษณุ ศุภนิมิตร
             – มานิตย์ ภู่อารีย์
             – สงัด ปุยอ๊อก
             – สวัสดิ์ ตันติสุข
             – อวบ สาณะเสน
             – ฯลฯ

        ● ส่วนของผลงาน (96 ชิ้น)
        ● ศิลปกรรมบนตาลปัตร (9 ชิ้น)
        ● บทวิจารณ์ผลงานบางส่วน
        ● ประวัติศิลปิน

– กระดาษอาร์ตหนารวม 143 หน้า (ขนาด 240*292*14 มม.)

– 650- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** ปก หน้า/หลัง พกช้ำบางมอมแมมเล็กน้อย รูปเล่มและส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ : พระอัจฉริยภาพล้ำเลิศ (เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี)

#นิยมรัก.#หนังสือที่ระลึก.#นิทรรศการบนหน้ากระดาษ.#จิตรกรรมฝีพระหัตถ์พระอัจฉริยภาพล้ำเลิศ.#ฉลองสิริราชสมบัติครบเจ็ดสิบปี.#สิบสี่พฤศจิกาหกหก.

( #Kc_1411230301. ) :: Line ID : Kang_Crate

……”จิตรกรรมฝีพระหัตถ์” เมื่อปี 2560…(ตำหนิเล็กน้อยครับ)……

– จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ : พระอัจฉริยภาพล้ำเลิศ (เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี)
– บรรณาธิการภาพ โดย นายสิงห์คม บริสุทธิ์
– พิมพ์เผยแพร่ ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2560 (จำนวนจัดพิมพ์ 3,000 เล่ม)

■ ภายในเนื้อหาประกอบด้วย

       – คำปรารภ / คำนำ

      ● พระราชประวัติ (จำนวน 30 หน้า)
      ● พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกับงานจิตรกรรม (จำนวน 15 หน้า)
      ● จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ (จำนวน 114 หน้า)
      ● การอนุรักษ์จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ (จำนวน 41 หน้า)

      – บรรณานุกรรม / คณะผู้จัดทำ

– กระดาษอาร์ทหนารวม 208 หน้า (ขนาด 215*298*25 มม.)

– 890- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** ปก หน้า/หลัง มอมแมมเล็กน้อย ช่วงปกหน้าตัวอัษรและช่วงภาพสีซีดจางสึกถลอกบางเล็กน้อย รูปเล่มและส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

ราชประดิษฐ พิพิธบรรณ ( จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสที่วันพระบรมสมภพครบ 206 ปี (18.ต.ค.2553) และคล้ายวันสวรรคต (1 ต.ค. 2553) ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว )

…..พิศในพิพิธสถานแห่ง ราชประดิษฐ….(ตำหนิเล็กน้อยครับ)……

– ราชประดิษฐ พิพิธบรรณ ( จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสที่วันพระบรมสมภพครบ 206 ปี (18.ต.ค.2553) และคล้ายวันสวรรคต (1 ต.ค. 2553) ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว )
– บรรณาธิการโดย พิชญา สุ่มจินดา
– จัดพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ก.ย.2553 ( จำนวน 3,000 เล่ม )

– ภายในแบ่งเนื้อหาออกเป็น 5 หมวดใหญ่ ประกอบด้วย อาทิ

          – “ราชประดิษฐพิพิธบรรณ” กับวัดเล็ก ๆ ที่เรียกว่า “วัดราชประดิษฐ ฯ” (โดย พิชญา สุ่มจินดา (บรรณาธิการ))

          ● ภายในประกอบด้วย
         
          ● หมวดประวัติพระอาราม (ประกอบด้วย)
                – พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5 ว่าด้วย วัดพระนามบัญญัติ วัดราชประดิษฐ
                – ความผูกพันที่รัชกาลที่ 4 ทรงมีต่อวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม (โดยหม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรี)
     
           ● หมวดประติมากรรม (ประกอบด้วย)
                – พระพุทธชินราช พระพุทธชินศรี และพระศรีศาสดา “จำลอง” ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม (โดย พิชญา สุ่มจินดา)
                – ตุ๊กตาศิลจีน “โป๊ยเซียน” หน้าพระวิหารหลวง วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม (โดย ศานติ-นวรัตน์ ภักดีคำ)

            ● หมวดสถาปัตยกรรม (ประกอบด้วย)
                 – พระที่นั่งทรงธรรม : วัดราชประดิษฐมหาสีมาราม (หม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรี)
                 – หอระฆังยอดทรงมงกุฎ และระฆังแบบฝรั่ง จารึกพระปรมาภิไธยย่อ ของรัชกาลที่ 4 ที่วัดราชประดิษฐ ฯ (โดย พิมพ์พร ไชยพร)

            ● หมวดจิตรกรรม (ประกอบด้วย)
                  – สุริยุปราคาในวังหลวง (โดย สุรชัย จงจิตงาม)
                  – มายาภาพสี่ทศวรรษ : จิตรกรรมพระราชพิธีเดือนเก้า ที่วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม (โดย ฉัตรบงกช ศรีวัฒนสาร)

           ● หมวดศาสนวัตถุ (ประกอบด้วย)
                  – เครื่องบริขารและโบราณวัตถุสำคัญของสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สา ปุสฺสเทโว ที่เก็บรักษาอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร (โดย ณัฏฐภัทร จันทวิช)
                  – บุษบกธรรมาสน์ยอดมงกุฎ ในการเปรียญวัดราชประดิษฐ ฯ (โดย พิชญา สุ่มจินดา)

– หนา 239 หน้า (ขนาด 165*240*15 มม.)


– 450- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** มุมขอบล่างช่วงหลังมีรอยพกช้ำเล็กน้อย ภายในและรูปเล่มส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

78 ปี ของการรักษาศิลปวัฒนธรรม (หนังสือที่ระลึก เมื่อ 27 มี.ค. 2531)

…….78 ปี ของการรักษาศิลปวัฒนธรรม…(หนังสืออภินัน ฯ : ตำหนิเล็กน้อยครับ)……..

– 78 ปี ของการรักษาศิลปวัฒนธรรม (หนังสือที่ระลึก เมื่อ 27 มี.ค. 2531)

– เนื้อหาภายในประกอบด้วย อาทิ

        – คำนำ

        – บันทึกเหตุการณ์การได้ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์คืน (โดย พิสิฐ เจริญวงศ์)(จำนวน 13 หน้า)
        – ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์กับปัญหาในกฎหมายระหว่างประเทศ (โดย ประสิทธิ์ เอกบุตร)(จำนวน 6 หน้า)
        – ความเข้าใจในเรื่องการขึ้นทะเบียนโบราณสถาน โบราณวัตถุ และศิลปวัตถุ (โดย อดิศักดิ์ เช็กรัตน์)(จำนวน 8 หน้า)
        – อุทยานประวัติศาสตร์ พิมาย (โดย บวรเวท รุ่งรุจี)(จำนวน 6 หน้า)
        – อาคารถาวรวัตถุหน้าวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ (โดย สานิต เย็นทรวง)(จำนวน 2 หน้า)
        – ที่ดินโบราณสถานกำแพงเมืองคูเมือง (โดย เรวดี สกุลพาณิชย์)
        – พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง (โดย อารีพร อำนวยกิจเจริญ)
        – พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอุบลราชธานี (โดย สุกิจ เที่ยงมณีกุล)
         – ปราสาทเขาน้อยสีชมพู (โดย นวรัตน์ มงคลคำนวณเขตต์)(จำนวน 6 หน้า)
         – พระที่นั่งชัยมังคลาภิเษก (โดย อดิศักดิ์ เซ็กรัตน์)(จำนวน 6 หน้า)
          – ทรัพยากร บุคคลดีเด่นของกรมศิลปากร ในรอบปี 2531)(จำนวน 4 หน้า)
          – ประวัติกรมศิลปากร
          – ตึกที่ทำการกรมศิลปากรและวังเก่า (จำนวน 5 หน้า)
          – ผลการดำเนินงานของกรมศิลปากร พ.ศ. 2531 (โดย ศักดิ์สิทธิ์ พึงใจ)
          – หนังสือที่กรมศิลปากรจัดพิมพ์ประจำปี 2531 (โดย สิต วงษ์ชมภู)

– ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนา 72 หน้า (ขนาด 210*290*05 มม.)

– 200- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** หนังสืออภินัน ฯ : มีรอยเจาะเย็บเชือกเพื่อความแข็งแรงที่สันเปิด มีรอยปากกาบางจุด รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

พระมหาธาตุ – พระบรมธาตุในสยามประเทศ : “พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช

…..พระมหาธาตุ – พระบรมธาตุในสยามประเทศ ว่าด้วย “พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช”…(หนังสืออภินัน ฯ สภาพสมบูรณ์ครับ)……

– พระมหาธาตุ – พระบรมธาตุในสยามประเทศ : “พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช
– ผลงานวิจัยโดย เกรียงไกร เกิดศิริ (และคณะ)
– พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ก.พ. 2560

– ภายในแบ่งเนื้อหาออกเป็น 8 บทใหญ่ และภาคผนวก ประกอบด้วย

         – คำนำ โดยผู้วิจัย

         – บทที่ 1 : ระเบียบวิธีการศึกษา
         – บทที่ 2 : พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ และการตั้งถิ่นฐานในคาบสมุทรภาคใต้ และเมืองนครศรีธรรมราช โดยสังเขป
         – บทที่ 3 : นามเมืองนครศรีธรรมราช และนามพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช
         – บทที่ 4 : ผังเมือง และทำเลที่ตั้งวัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช
         – บทที่ 5 : พัฒนาการของผังบริเวณวัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราชจาก อดีต – ปัจจุบัน
         – บทที่ 6 : มรดกพุทธศิลปสถาปัตยากรรมวัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช
         – บมที่ 7 : พระพุทธปฏิมา และซุ้มเรือนแก้วปูนปั้นในวิหารทับเกษตร
         – บทที่ 8 : วัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราชกับแรงบันดาลใจสู่การสร้างพุทธศาสนสถาปัตยกรรมในดินแดนอื่น ๆ

          – ภาคผนวก

– ปกแข็งชนิดอ่อนหนา 162 หน้า (ขนาด 190*260*15 มม.)

– 450- จัดส่ง ลทบ.ฟรี (ไม่เข้าร่วมกิจกรรมนะครับ)

*** หนังสืออภินัน ฯ (มีรอยปั๊มอภินัน ฯ หนึ่งจุด) สภาพแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.
       

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

เสน่ห์ศิลป์พื้นถิ่น สู่ศิลป์ร่วมสมัย (หนังสือจากโครงการถ่ายทอดและส่งเสริมองค์ความรู้งานศิลปะร่วมสมัยในท้องถิ่นสถาบันวัฒนธรรมท้องถิ่น)

…..เสน่ห์ศิลป์พื้นถิ่น สู่ 14 ศิลปินร่วมสมัย..(หนังสือจำหน่ายออกจากห้องสมุด ตำหนิเล็กน้อยครับ)…..

– เสน่ห์ศิลป์พื้นถิ่น สู่ศิลป์ร่วมสมัย (หนังสือจากโครงการถ่ายทอดและส่งเสริมองค์ความรู้งานศิลปะร่วมสมัยในท้องถิ่นสถาบันวัฒนธรรมท้องถิ่น)
– พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ส.ค. 2557 (จำนวน 1,000 เล่ม)

– ภายในประกอบด้วย บทสัมภาษณ์ มุมมอง แนวความคิด ของ ศิลปิน 14 ท่าน จาก 4 จังหวัด ประกอบด้วย อาทิ

       – ก่อนจะมาเป็น เสน่ห์ศิลป์พื้นถิ่น สู่ศิลป์ร่วมสมัย เรียบเรียงโดย ภิมนญ์รัฎณ์ เทียมเมือง

      ● สุโขทัย
       – นายสันติ พรมเพ็ชร : งานสังคมสู่งานศิลปะร่วมสมัย
       – นางวรีวรรณ โขนงนุช : ศิลปะกระจกร่วมสมัย และงานภาพจากเครื่องประดับแพรวพราว
       – นางสมสมัย เขาเหิน : Gold of Art ศิลปะร่วมสมัยของทองคำ
       – นางรวีวรรณ ขนาดนิด : ผ้นตีนจกสู่ผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย

      ● ลำปาง
       – นายเพทาย วงษ์พา : กะลาดีไซด์ รถม้ากะลาวิจิตร
       – นางทิวาพร ปินตาสี : ตุง โคมศรีล้านนาสู่ศิลป์ร่วมสมัย
       – นายจำรัค จีรปัญญาทิพ : สุนทรีย์ศิลป์หินทราย “มีลาน MELANN”

      ● ลำพูน
       – นายสมพล หล้าสกุล : แกะสลักไม้รูปเหมือนงานร่วมสมัย
      – นายถนัด สิทธิชัย : ตุ๊กตาชาวยองผ้าทอยกดอกลำพูน สู่งานร่วมสมัย

      ● เชียงใหม่
       – นายเพชร วิริยะ : งานแกะสลักไม้ร่วมสมัย บ้านจ๊างนัก
       – นายเบญจพล สิทธิประณีต : ฉลุลวดลายล้านนา และศิลปะงานตัดร่วมสมัย
       – นายสมทรัพย์ ศรีสุวรรณ : เครื่องปั้นคนโทน้ำ เครื่องปั้นดินเผาร่วมสมัย
       – นายเรืองกิตติ์ กนกปรีชาวุฒิ : เครื่องประดับจากชนเผ่าสู่งานร่วมสมัย
       – นายธนพล สายธรรม : จากดินสู่ศิลป์ร่วมสมัย

– กระดาษอาร์ตมันหนา 248 หน้า (ขนาด 145*210*20 มม.)

– 250- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** หนังสือจำหน่ายออกจากห้องสมุด มีรอยปั๊มบางจุด รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

101 ปี ละครวังสวนกุหลาบ ( จัดพิมพ์เนื่องในวาระครบรอบ 101 ปี ละครวังสวนกุหลาบ ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา )

…..รฦก ไว้ในวาระ 101 ปี ละครวังสวนกุหลาบ…..

– 101 ปี ละครวังสวนกุหลาบ ( จัดพิมพ์เนื่องในวาระครบรอบ 101 ปี ละครวังสวนกุหลาบ ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา )
– จัดพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2555

– ภายในแบ่งเนื้อหาออกเป็น 5 บทใหญ่ ประกอบด้วย

         – คำนำ

         – บทที่ 1 : ความเป็นมาเรื่องวังสวนกุหลาบ (แบ่งออกเป็น 2 หัวข้อใหญ่ภายในดังนี้)
             – พระประวัติ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา (แบ่งอออกเป็น 10 หัวข้อย่อย อาทิ)
                 – เฉลิมพระนาม
                 – พระราชพิธีโสกันต์
                 – ทรงผนวชเป็นสามเณร
                 – ดำรงพระยศนายร้อยตรี
                 – อื่น ๆ

             – พระประวัติสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย (แบ่งออกเป็น 7 หัวข้อย่อย อาทิ)
                 – เจิมหรือแต้มไว้ด้วยยอดธง
                 – เฉลิมพระนาม
                 – เสด็จไปทรงศึกษาต่างประเทศพร้อมกับพระเชษฐา
                 – อื่น ๆ

         – บทที่ 2 : คณะละครวังสวนกุหลาบ (แบ่งออกเป็น 13 หัวข้อภายใน อาทิ)
              – ปฐมเหตุ
              – ประวัติท้าวนารีวรคณารักษณ์
              – ครูละครวังสวนกุหลาบ (ครูที่สอนประจำ)
              – หม่อมครูนุ่ม นวรัตน์ ณ อยุธยา
              – หม่อมครูอึ่ง หรือแม่ครูอึ่ง หสิตะเสน
              – หม่อมครูแย้ม (อิเหนา)
              – อื่น ๆ

        – บทที่ 3 : ตัวละครในคณะวังสวนกุหลาบ (แบ่งออกเป็น 5 หัวข้อภายใน อาทิ)
              – รุ่นใหญ่ เกิดปีจอ – กุน (พ.ศ. 2441 – 2442)
              – รุ่นรองอันดับ 2 เกิดปีชวด – เถาะ (พ.ศ. 2443 – 2446)
              – อื่น ๆ

        – บทที่ 4 : การฝึกหัดนาฏศิลป์ในวังสวนกุหลาบ (แบ่งออกเป็น 8 หัวข้อภายใน อาทิ)
              – วิธีการฝึกหัดละครของวังสวนกุหลาบ
              – เรื่องที่แสดง
              – ประเภทละครใน
              – ประเภทละครนอก
              – อื่น ๆ

         – บทที่ 5 : อิทธิพลของละครวังสวนกุหลาบที่มีต่อวิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร (แบ่งออกเป็น 10 หัวข้อภายใน อาทิ)
              – อิทธิพลทางด้านการเรียนการสอน
              – รูปแบบการเรียนการสอน
              – วิธีการสอน
              – อุปกรณ์ในการฝึก
              – อิทธิพลทางด้านการแสดง
              – อื่น ๆ

        – บทสรุป

        – ภาคผนวก ก : ละครวังสวนกุหลาบ ขณะอยู่ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย
        – ภาคผนวก ข : ภาพโปสการ์ดละครวังสวนกุหลาบ

– ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนา 176 หน้า (ขนาด 185*258*13 มม.)

– 550- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

เอกสารค้นคว้าวิจัย เรื่อง “วิวัฒนาการของเครื่องเรือนไทยโบราณ” ( เนื่องในนิทรรศการ “สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น” ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง เมื่อ พ.ศ. 2525 )

….เอกสารค้นคว้าวิจัย เรื่อง “วิวัฒนาการของเครื่องเรือนไทยโบราณ” (เนื่องในนิทรรศการ “สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น” ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง เมื่อ พ.ศ. 2525)….(ตำหนิเล็กน้อยครับ)…..

– เอกสารค้นคว้าวิจัย เรื่อง “วิวัฒนาการของเครื่องเรือนไทยโบราณ” ( เนื่องในนิทรรศการ “สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น” ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง เมื่อ พ.ศ. 2525 )
– โดย ประศาสน์ คุณะดิลก

– ภายในประกอบด้วย อาทิ

        – บทคัดย่อ
        – คำนำ

        – บทที่ 1 : บทนำ (จำนวน 4 หน้า)
        – บทที่ 2 : การนำเข้าสู่การวิเคราะห์ (แบ่งเป็น อาทิ)(จำนวน 19 หน้า)
            – การนำเข้าสู่การวิเคราะห์
            – สภาพความเป็นอยู่
            – เครื่องเรือนและการตกแต่งภายใน
            – เครื่องเรือนไทยกับอิทธิพลที่ได้รับ
             – มูลเหตุที่เครื่องเรือนไทยได้รับอิทธิพลมาจากจีน

         – บทที่ 3 : การวิเคราะห์ (แบ่งเป็น อาทิ)(จำนวน 10 หน้า)
              – ส่วนของเครื่องเรือน
              – การตกแต่งตัวเครื่องเรือน
              – รูปทรงของเครื่องเรือน

          – บทที่ 4 : สรุปผลการวิจัย

          – บรรณานุกรม และสำเนาภาพประกอบตัวอย่างต่าง ๆ

– หนารวมร่วม 80 หน้า (ขนาด 210*285 มม.)

– 450- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** ใบรองปก หน้า/หลัง มอมแมม สันข้างถลอกหนึ่งจุดเล็กน้อย รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อดดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

เมืองเชียงแสน ( จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย เมื่อ พ.ศ. 2539 )

…..ว่าด้วย การตั้งถิ่นฐาน สถาปนาและโบราณสถานและโบราณวัตถุ ของ เมืองเชียงแสน……

– เมืองเชียงแสน ( จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย เมื่อ พ.ศ. 2539 )
– จัดพิมพ์ครั้งแรก มิ.ย. 2539

– ภายในประกอบด้วย

        – คำนำ

        – เชียงแสนในอดีต โดย นายปริวรรต ธรรมาปรีชากร (แบ่งเป็น)
             – การตั้งถิ่นฐาน (ประกอบด้วย)
                 – สมัยก่อนยประวัติศาสตร์
                 – สมัยประวัติศาสตร์

             – สถาปนาเมืองเชียงแสน (ประกอบด้วย)
                 – เชียงแสนในราชอาณาจักรล้านนา
                 – อำนาจปกครองของพม่า
                 – เชียงแสนภายใต้ราชอาณาจักรสยาม

             – ลักษณะเมืองและชุมชน

             – เชียงแสนวันนี้
             – พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน (ประกอบด้วย)
                   – ประวัติความเป็นมา
                   – การจัดแสดง

             – การจัดการโบราณสถานเมืองเชียงแสน โดย นายทรรศนะโดยอาษา

            – บรรณานุกรม

– ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนา 128 หน้า (ขนาด 218*294*08 มม.)

– 350- จัดส่งลทบ.ฟรี

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

การจัดแสดงผลงานศิลปกรรมภาพเขียนนู้ด (nude) ครั้งที่ 4 (จัดแสดงเมื่อ 9 ก.ย. – 3 ต.ค. 2562)


งามนั้น…
หาใช่เพียงที่กายงาม
หรือแต่งแต้มงามให้จับจิต
ด้วยสีสรรค์ที่ปัดวาดแต่ง
ปรุงแต้มจนอาจเปรอะบนใบหน้า
หญิง ชาย
เมื่อเปลื้องเปลือยจนหมดสิ้น
สิ่งเดียวที่หลงเหลืออยู่มิอาจสิ้น
เมื่อสูญสิ้นแสงของแรงเทียน
นั่นคือ งามจับจิต
อยู่ที่จิตอันงดงาม
ที่ซ่อนซุกอยู่ภายใต้
กายงามของ โครงกระดูก
แม้เมื่อยามที่ผุพังโรยลง
.
.
แน่นอนว่าข้าพเจ้าย่อมคือหนึ่งในผู้ที่ลุ่มหลงรูปงามเมื่อแสงแรกแทรกส่องกระทบ แต่ทว่าข้าพเจ้าก็เหมือนกับเธออีกหลาย ๆ คนเช่นกัน ที่ปรารถนายิ่งที่จะค่อย ๆ เอื้อมสัมพัสถึงจิตที่เธอฉันเราต่างประคองและซ่อนซุกมันไว้อยู่ในบทสนทนา และความคิดที่เป็นเรา เมื่อแรกก้าวของทักทายสนทนาผ่านโมงยาม
.
.
(เพ้อ : ชายเร่ร่อน (เป็นเพียงบางมุมของทรรศนะ มิได้มีจุดประสงค์ในเชิงตัดสิน หรือวิพากษต่อสิ่งใด หากมีพลาดผิดพลั้งไป ต้องขออภัยไว้ยังที่นี้ด้วยนะครับ))



การจัดแสดงผลงานศิลปกรรมภาพเขียนนู้ด (nude) ครั้งที่ 4 (จัดแสดงเมื่อ 9 ก.ย. – 3 ต.ค. 2562)



(ภายในประกอบด้วยผลงานจำนวน 40 ชิ้น จาก 5 ศิลปินที่ร่วมแสดงงาน ประกอบด้วย : สุวัฒน์ วรรณมณี / ดินหิน รักพงษ์อโศก / ชัชวาลย์ รอดคลองตัน / วสันต์ สิทธิเขตต์ / สุพร แก้วตา / และ ณรงค์ฤทธิ์ กาลจิตร์)



ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนา  60 หน้า (ขนาด 185*230 มม.)



550- จัดส่งลทบ.ฟรี



#นู้ด.#วสันต์สิทธิเขตต์.#ณรงค์ฤทธิ์กาลจิตร์.#สุพรแก้วตา.#สุวัฒน์วรรณมณี.#ดินหินรักพงษ์อโศก.#นิทรรศการบนหน้ากระดาษ.#เพ้อ.#ชายเร่ร่อน.#นิยมรัก.#ร้านข้างเขตฯ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***