ภูษาวิจิตร

#นิยมรัก.#นิทรรศการบนหน้ากระดาษ.#ภูษาวิจิตร.#สิบเก้าตุลาหกหก.

( #Kc_1910230302. ) :: Line ID : Kang_Crate

……ลายผ้าไทยพื้นบ้านทั้ง 4 ภาค……

– ภูษาวิจิตร
– โครงการพัฒนาหัตถกรรมผ้าไทยในชนบท โดย สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ดระทรวงศึกษาธิการ
– บรรณาธิการโดย นายไพรัช รุ้งรุจิเมฆ
– ไม่ระบุปีพิมพ์

■ เนื้อหาภายในประกอบด้วย อาทิ
   
      ● คำนำ

      ● โครงการพัฒนาลวดลายผ้าไทยในชนบท
      ● ความเป็นมา
      ● เทคนิคการทอผ้าเพื่อให้เกิดลวดลาย

       ● ภาคที่ 1 : ลวดลายผ้าภาคกลาง (7 จังหวัด)(จำนวน 28 หน้า)
       ● ภาคที่ 2 : ลวดลายผ้าภาคเหนือ (9 จังหวัด)(จำนวน 80 หน้า)
       ● ภาคที่ 3 : ลวดลายผ้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (16 จังหวัด)(จำนวน 42 หน้า)
       ● ภาคที่ 4 : ลวดลายผ้าภาคใต้ (5 จังหวัด)(จำนวน 26 หน้า)

– ปกแข็งกระดาษอาร์ทหนารวม 189 หน้า (ขนาด 210*300*23 มม.)

– 850- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

พระมหาธาตุ – พระบรมธาตุในสยามประเทศ : “พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช

…..พระมหาธาตุ – พระบรมธาตุในสยามประเทศ ว่าด้วย “พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช”…(หนังสืออภินัน ฯ สภาพสมบูรณ์ครับ)……

– พระมหาธาตุ – พระบรมธาตุในสยามประเทศ : “พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช
– ผลงานวิจัยโดย เกรียงไกร เกิดศิริ (และคณะ)
– พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ก.พ. 2560

– ภายในแบ่งเนื้อหาออกเป็น 8 บทใหญ่ และภาคผนวก ประกอบด้วย

         – คำนำ โดยผู้วิจัย

         – บทที่ 1 : ระเบียบวิธีการศึกษา
         – บทที่ 2 : พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ และการตั้งถิ่นฐานในคาบสมุทรภาคใต้ และเมืองนครศรีธรรมราช โดยสังเขป
         – บทที่ 3 : นามเมืองนครศรีธรรมราช และนามพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช
         – บทที่ 4 : ผังเมือง และทำเลที่ตั้งวัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช
         – บทที่ 5 : พัฒนาการของผังบริเวณวัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราชจาก อดีต – ปัจจุบัน
         – บทที่ 6 : มรดกพุทธศิลปสถาปัตยากรรมวัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช
         – บมที่ 7 : พระพุทธปฏิมา และซุ้มเรือนแก้วปูนปั้นในวิหารทับเกษตร
         – บทที่ 8 : วัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราชกับแรงบันดาลใจสู่การสร้างพุทธศาสนสถาปัตยกรรมในดินแดนอื่น ๆ

          – ภาคผนวก

– ปกแข็งชนิดอ่อนหนา 162 หน้า (ขนาด 190*260*15 มม.)

– 450- จัดส่ง ลทบ.ฟรี (ไม่เข้าร่วมกิจกรรมนะครับ)

*** หนังสืออภินัน ฯ (มีรอยปั๊มอภินัน ฯ หนึ่งจุด) สภาพแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.
       

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

กลุ่ม ศิลปวัฒนธรรม ในประเทศไทย : บทสำรวจสถานภาพ และ ความเคลื่อนไหว ในช่วงปี พ.ศ. 2516 – 2530



…..การเคลื่อนขยับ ของ “กลุ่มศิลปวัฒนธรรม” ต่อ ประเทศไทย ภายในรอบ 14 ปี ( ระหว่าง พ.ศ. 2516 – 2530 )….(ตำหนิเล็กน้อยครับ)….

“…การรวบเร่งรวมกำลังตั้งขึ้น
เปนหมู่ เปนคน เปนสมาคม
จึงอุบัติตาม ๆ กันขึ้นมา
เพื่อความมุ่งหมายอย่างเดียว
ที่จะใช้กำลังอันได้รวมกันเข้าดีแล้ว
บังคับให้อีกฝ่ายหนึ่งไม่โกหกตัวเอง
เพื่อประโยชน์ของตัวเอง
และบังคับให้อีกฝ่ายหนึ่งสู้หน้ากับความเปนจริง
เพื่อประโยชน์ของคนหมู่มาก”

(*ซึ่งอันมิได้หมายถึงหมู่มากเพียงเพื่อหนึ่งในตนที่มุ่งหวัง และฉวยจากคำว่าเรา และประชาชน)

( บางตอนจากข้อเขียนเรื่อง มนุษยภาพ เขียนไว้เมื่อ พ.ศ. 2474 โดย กุหลาบ สายประดิษฐ์ )

* เป็นเพียงทัศนะส่วนตนมิได้มีเจตนามุ่งเพื่อเจาะจงถึงบุคคลใด บุคคลหนึ่ง  หากมีความไม่เหมาะสม ต้องขออภัยมายังที่นี้ด้วยครับ.

– กลุ่ม ศิลปวัฒนธรรม ในประเทศไทย : บทสำรวจสถานภาพ และ ความเคลื่อนไหว ในช่วงปี พ.ศ. 2516 – 2530
– โดย สิทธิเดช โรหิตะสุข
– จัดพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2552 ( จำนวน 3,000 เล่ม : ไม่วางจำหน่าย )

– ภายในแบ่งเนื้อหาออกเป็น 4 บทใหญ่ ประกอบด้วย

        – คำนำเสนอ โดย ศ. ดร. วิรุณ ตั้งเจริญ
        – คำนำจากผู้เขียน
        – กิตติกรรมประกาศ

        บทที่ 1
        การวิจัยเรื่อง : กลุ่มศิลปวัฒนธรรมในประเทศไทย : บทสำรวจสถานภาพ และความเคลื่อนไหวในช่วงปี พ.ศ. 2516 – 2530 ( ภายในแบ่งเนื้อหาย่อยออกเป็น อาทิ )
             – สถานภาพโครงการ
             – หน่วยงานที่รับผิดชอบ
             – ประเภท / ลักษณะของโครงการวิจัย
             – ภูมิหลัง
             – วัตถุประสงค์ของการวิจัย
             – วิธีการศึกษาวิจัย
             – ขอบเขตในการศึกษาวิจัย
             – ฯลฯ

         บทที่ 2 ( แบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 หัวข้อใหญ่ ประกอบด้วย )
         – กลุ่มศิลปวัฒนธรรม ในฐานะการเคลื่อนไหวทางสังคม จากยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม ถึง ศิลปะหลังสมัยใหม่ ( แบ่งออกเป็น หัวข้อย่อย อาทิ )
              – กลุ่มศิลปะในการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลป์ตะวันตก ปฏิบัติการจัดระเบียบ คัดแยกและหลอมรวม และการเปลี่ยนสถานะจาก “กลุ่มศิลปะ” ( Art Group ) “ลัทธิทางศิลปะ” ( Art Ism )
               – “คำประกาศ ( Manifesto ) กับสถานะและอำนาจของการกำหนดความเป็น “กลุ่มทางศิลปะ” หรือ “ลัทธิทางศิลปะ” โดยศิลปิน
               – จากสงครามโลก สู่ สงครามสื่อ กลุ่มและขบวนการเคลื่อนไหวทางศิลปะ จากดาดาอิสม์ ( Dadaism ) ถึง ป็อปอาร์ต ( Pop Art )
               – ศิลปะหลังสมัยใหม่ และ กลุ่มศิลปะอื่น ๆ กับความเคลื่อนไหวที่มีต่อสังคม และศิลปะ
               – อื่น ๆ

          – กลุ่มศิลปวัฒนธรรมในประเทศไทย ความเคลื่อนไหว หลังการอภิวัฒน์ไทย 2475 ถึง ทศวรรษ 2500 ( แบ่งออกเป็นหัวข้อย่อย อาทิ )
                – ก่อนการอภิวัฒน์
                – กลุ่ม คณะ ขบวนการ จาก 24 มิถุนายน 2475 การอภิวัฒน์ไทย ถึง พ.ศ. 2500 จาก กลุ่มทางการเมือง สู่ กลุ่มการเมืองวัฒนธรรม และศิลปะ
                – กลุ่ม ศิลปวัฒนธรรม หลัง การอภิวัฒน์ 2475
                – ชมรมนักประพันธ์ กับบทบาทการรวมตัวแลกเปลี่ยนทัศนะของนักประพันธ์และนักหนังสือพิมพ์ ในช่วงต้นทศวรรษ 2490
                – อื่น ๆ

          – ขบวนกาารนิสิต นักศึกษา กลุ่มศิลปวัฒนธรรม ในประเทศไทย กับการเมือง วัฒนธรรมก่อน 14 ตุลา และการจัดตั้งกลุ่มศิลปวัฒนธรรม เพื่อเคลื่อนไหวทางสังคมการเมือง จาก 14 ตุลาคม 2516 ถึง 6 ตุลาคม 2519 ( แบ่งออกเป็นหัวข้อย่อย อาทิ ) 
                – จากรัฐเผด็จการ วาทกรรมภัยคอมมิวนิสต์ การต่อต้านสงครามเวียดนาม สู่กิจกรรมนักศึกษา และการเกิด กลุ่ม ศิลปวัฒนธรรม

          บทที่ 3 
          – การสำรวจสถานภาพและความเคลื่อนไหว กลุ่มศิลปวัฒนธรรม ในประเทศไทย ในช่วงปี 2516 – 2530 (แบ่งเนื้อหาออกเป็น 6 บทใหญ่ภายใน อาทิ )
                 – การสำรวจสถานภาพการรวมกลุ่มอิสระต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัย ของขบวนการนิสิต นักศึกษาหรือประชาชน ที่มีการเคลื่อนไหว โดยใช้ศิลปวัฒนธรรม เป็นตัวขับเคลื่อน ( แบ่งหัวข้อย่อยออกเป็น อาทิ )
                       – การจับกลุ่มพูดคุย / เสวนา กับการพัฒนาการเกิดกลุ่มอิสระในมหาวิทยาลัย
                       – กลุ่มสภาหน้าโดม ( DOME FRONT AGORA )
                       – ภาพรวมของ สถานภาพและความเคลื่อนไหวของ กลึ่มอิสระอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัย
                       – อื่น ๆ

                 – การสำรวจสถานภาพของกลุ่มทางศิลปวัฒนธรรมในประเทศไทยที่มีการเคลื่อนไหวโดยการใช้กิจกรรมทางทัศนศิลป์เป็นตัวขับเคลื่อนหลัก (แบ่งหัวข้อย่อยออกเป็น อาทิ )
                       – คำประกาศแนวร่วมศิลปินแห่งประเทศไทย
                       – บทบาทของกลุ่มที่มีต่อการเคลื่อนไหวทางสังคม
                       – อื่น ๆ

                  – การสำรวจสถานภาพของกลุ่มศิลปวัฒนธรรมในประเทศไทยที่มีการแสดงออกโดยการใช้กิจกรรมทางด้านวรรณกรรมและสื่อสิ่งพิมพ์เป็นตัวขับเคลื่อนหลัก (แบ่งหัวข้อย่อยออกเป็น อาทิ )
                      – กลุ่มพระจันทร์เสี้ยว ที่มาแนวคิดในการรวมกลุ่ม
                      – บทบาทของกลุ่มที่มีต่อการเคลื่อนไหวทางสังคม
                      – ฯลฯ

                  – อื่น ๆ

            บทที่ 4
            – กลุ่มศิลปวัฒนธรรมในประเทศไทย เป้าหมายในการขับเคลื่อนกับสถานภาพความเป็นกลุ่มทางสังคมการเมือง และผลกระทบสู่พัฒนาการของศิลปวัฒนธรรม
     
           บทที่ 5
           – การรื้อฟื้นอุดมการณ์กลุ่มศิลปวัฒนธรรมในประเทศไทย จาก 2516 – 2530 สู่ ความเคลื่อนไหวในปัจจุบัน และบทสรุป

– หนารวม 608 หน้า ( ขนาด 148*210*38 มม. )

– 850- จัดส่งลทบ.ฟรี

*** ใบรองปกหน้ามีรอยปากกาเล็กน้อย รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

อาศรมศิลป์สิปปบรรณ 2 : คิดเห็นเป็นลายเส้น ( จาก บ้านสบลาน จ.เชียงใหม่ และบ้านแม่กองคา จ.แม่ฮ่องสอน )

…..นัยน์ตาที่พบและมองเห็น ( จาก บ้านสบลาน จ.เชียงใหม่ และบ้านแม่กองคา จ.แม่ฮ่องสอน )……..

– อาศรมศิลป์สิปปบรรณ 2 : คิดเห็นเป็นลายเส้น ( จาก บ้านสบลาน จ.เชียงใหม่ และบ้านแม่กองคา จ.แม่ฮ่องสอน )

– ภายในประกอบด้วยบันทึก ผลภาพลายเส้น พร้อมมุมมองความคิด

– ปกแข็งหนากว่า 110 หน้า (ขนาด205*205*15 มม.)

– 350- จัดส่งลทบ.ฟรี

*** ปกช่วงมุมขอบพกช้ำถลอกบางเล็กน้อย, รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

อาศรมศิลป์สิปปบรรณ 1 : วาดเขียนเพียรรักษาภูมิปัญญาของท้องถิ่น ( รวบรวมบันทึก จาก โครงการอนุรักษณ์และฟื้นฟูวัดคูเต่า อ.บางกล่ำ จ.สงขลา และโครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูชุมชนริมน้ำจันทบูร )

…..กว่า 60 ภาพ จาก วัดคูเต่า (อ.บางกล่ำ จ.สงขลา) และชุมชนริมน้ำจันทบูร….

– อาศรมศิลป์สิปปบรรณ 1 : วาดเขียนเพียรรักษาภูมิปัญญาของท้องถิ่น ( รวบรวมบันทึก จาก โครงการอนุรักษณ์และฟื้นฟูวัดคูเต่า อ.บางกล่ำ จ.สงขลา และโครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูชุมชนริมน้ำจันทบูร )

– ภายในประกอบด้วย ผลงานกว่า 60 ภาพ พร้อมข้อมูลสถานที่ และมุมมองทางความคิด

– ปกแข็งหนาร่วม 140 หน้า (ขนาด 205*205*18 มม.)

– 380- จัดส่งลทบ.ฟรี

*** ปกพกช้ำถลอกบางช่วงมุมเล็กน้อย รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_CRate / 086-2835509 )

***กรณีการข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

บัว : องค์ประกอบประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมไทย

**** หนังสือตำหนิจากการโดนความชื้นช่วงมุมขอบเล็กน้อยดังภาพครับ ****

…..”บัวศึกษา” ว่าด้วยประวัติของ บัวและในศิลปะนานาชนิด ( จัดพิมพ์ 1,500 เล่ม )……

– บัว : องค์ประกอบประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมไทย
– ค้นคว้าเรียบเรียงโดย ฤดีรัตน์ กายราศ
– ถ่ายภาพโดย นางฤดีรัตน์ กายราศ
– ภาพลายเส้นโดย นายวัฒนะ บุญจับ
– ออกแบบปกโดย นายวัฒนะ บุญจับ และ นายศักยภาพ ชมจินดา
– กรมศิลปากร : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ จัดพิมพ์ครั้งแรก เมื่อ พ.ศ.2540 ( จำนวน 1,500 เล่ม )

– ภายในแบ่งเป็น 6 บทใหญ่ ประกอบด้วย อาทิ

– บทที่ 1 : กำเนิดบัวในดินแดนประเทศไทย ( แบ่งเป็น 2 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย )
– หลักฐานเกี่ยวกับบัวในประเทศไทย
– การจำแนกสายพันธุ์บัวที่มีอยู่ในประเทศไทย : บัวสาย อุบลชาติ, บัวหลวง ปทุมชาติ

– บทที่ 2 : ที่มา ความหมาย และความสำคัญของบัวจากประวัติศาสตร์ ตำนานในลัทธิศาสนา ( แบ่งเป็น 2 หัวข้อใหญ่ภายใน ) อาทิ
– บัวในศาสนาพราหมณ์ ( แบ่งเป็น 4 หัวข้อย่อยภายใน อาทิ )
– ประวัติความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์
– ความสัมพันธ์ของบัวกับเทพเจ้าในศาสนาพราหมณ์
– อื่นๆ

– บัวในพุทธศาสนา ( แบ่งเป็น 6 หัวข้อย่อยภายใน อาทิ )
– ความสำคัญของบัว สัญญาณแห่งการเริ่มต้น
– บทบาทสำคัญของบัวในพุทธประวัติ
– ดอกบัวในความหมายแห่งเวไนยสัตว์
– อื่นๆ

– บทที่ 3 : ทัศนคติ และค่านิยมบัวในสังคมไทย ( แบ่งเป็น 2 หัวข้อย่อยภายใน )
– ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย
– มูลเหตุแห่งความนิยมบัวของสังคมไทย

– บทที่ 4 : บทบาทและอิทธิพลของบัวในประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมไทย ( แบ่งเป็น 7 หัวข้อใหญ่ภายใน ประกอบด้วย อาทิ )
– บัวในศิลปกรรมไทย ( แบ่งเป็น 3 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย )
– บัวในศิลปกรรมแบบรูปทรงธรรมชาติ
– บัวในศิลปกรรมแบบศิลปะประดิษฐ์
– บัวในศิลปกรรมแบบศิลปะประยุกต์

– บัวในสถาปัตยกรรมไทย ( แบ่งเป็น 10 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย อาทิ )
– ฐานบัว
– เจดีย์ทรงยอดดอกบัวตูม
– เจดีย์ทรงยอดดอกบัวเหลี่ยม
– ปล้องไฉน
– กลีบบัว : ลวดลายประดับสถาปัตยกรรม
– อื่นๆ

– บัวในงานประติมากรรมไทย ( แบ่งเป็น 3 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย )
– พระพุทธปฎิมากร
– พระพิมพ์
– ใบเสมา
– บัวในงานจิตรกรรมไทย
– ประวัติความเป็นมาของบัวในงานจิตรกรรมไทย

– บัวในงานประณีตศิลป์ไทย ( แบ่งเป็น 6 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย อาทิ )
– ประวัติความเป็นมาในงานประณีตศิลป์ไทย
– เครื่องทอง
– เครื่องไม้จำหลัก
– เครื่องปั้นดินเผา
– อื่นๆ

– บัวในนาฏศิลป์และดุริยางค์ศิลป์ไทย ( แบ่งเป็น 2 หัวข้อใหญ่ภายใน ประกอบด้วย )
– บัวในนาฏศิลป์
– ชุดนาฏศิลป์ที่มีบัวเป็นองค์ประกอบ
– บัวในดุริยางคศิลป์ ( ประกอบด้วย 4 หัวข้อย่อย อาทิ )
– บัวในดนตรีไทย
– บัวในบทเพลงไทย
– อื่นๆ

– บัวในภาษา และวรรณกรรมไทย
– บทบาทของบัวในภาษาและวรรณกรรมไทย ( แบ่งเป็น 13 หัวข้อย่อยภายใน อาทิ )
– การมีกำเนิดเป็นทิพย์
– ที่มาและความหมายของบัวเบญจพรรณ
– การสร้างสรรค์เชิงพรรณนาโวหาร
– ความเชื่อในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างดอกบัว
– อื่นๆ

– บทที่ 5 : บทสรุป และ วิเคราะห์ บทบาทบัว ผลกระทบเมื่อวิถีชีวิตของสังคมไทยเปลี่ยนไป

– บทที่ 6 : ภาคผนวก : สังเขปความสำคัญเกี่ยวกับบัว

– ปกแข็งกระดาษอาร์ตมันหนา 359 หน้า ( ขนาด 220*290*28 มม. )

– 1,200- จัดส่งลทบ.ฟรี

****ช่วงมุมขอบด้านบน (ช่วงหน้าหลัง) มีรอยคราบบางผลกระทบจากการโดนความชื้นประปราย รูปเล่มและส่วนอื่นๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

ทอรักถักสายใย ผ่านลายผ้านาหมื่นศรี ( หนังสือ จาก โครงการวิจัยแนวทางการอนุรักษ์และฟื้นฟูภูมิปัญญาลายผ้านาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง )

….สืบค้นลงลึกลงไปในลวดลาย กับ 500 เล่ม จาก งานวิจัยว่าด้วย “ผ้านาหมื่นศรี”…..

– ทอรักถักสายใย ผ่านลายผ้านาหมื่นศรี ( หนังสือ จาก โครงการวิจัยแนวทางการอนุรักษ์และฟื้นฟูภูมิปัญญาลายผ้านาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง )
– บรรณาธิการโดย สุนทรี สังข์อยุทธ์
– ฉบับจัดพิมพ์เป็นครั้งที่ 2 / ต.ค. 2551 (จำนวน 500เล่ม)

– ภายในยแบ่งเป็น 2 หมวดใหญ่ 9 หัวข้อหลัก ประกอบด้วย

– คำนำ / บทคัดย่อ / บทนำ

– บนเส้นทางงานวิจัย ( แบ่งเป็น 4 หัวข้อใหญ่ภายใน ประกอบด้วย )
– กว่าจะเป็นโครงการ
– ครึ่งทางของย่างก้าว ( แบ่งเป็น 9 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย )
– บอกกล่าวเล่าเรื่อง
– ตามหาผ้าเก่า
– เดินทางไกลไปนอกพื้นที่
– รวบรวมเอกสาร
– เวทีเรียนรู้เรื่องผ้า
– ศึกษาวัสดุอุปกรณ์ทอผ้า
– เรียนแกะลาย
– เก็บข้อมูลเพิ่มเติม
– เวทีตรวจขสอบ

– สู่จุดมุ่งหมาย ( แบ่งเป็น 4 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย )
– ทอผ้า
– สรุปบทเรียน
– นิทรรศการ
– เวทีเผยแพร่ผลงานวิจัย

– คิดอย่างไรกับงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ( แบ่งเป็น 2 หัวข้อย่อย ประกอบด้วย )
– มานพ ช่วยอินทร์
– สุนทรี สังข์อยุทธ์

– รายงานการวิจัย ( แบ่งเป็น 5 บทตอนใหญ่ภายใน ประกอบด้วย )
– บทที่ 1 : บทนำ ( แบ่งเป็น 9 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย อาทิ )
– ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
– คำถามหลักของกรวิจัย
– วัตถุประสงค์ของโครงการ
– พื้นที่ศีกษา
– เวลาดำเนินงาน
– ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย
– อื่นๆ

– บทที่ 2 : บริบทชุมชนและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ( แบ่งเป็น 6 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย อาทิ )
– ที่ตั้งและอาณาเขต
– ประชากรและอาชีพ
– ประวัติความเป็นมานาหมื่นศรี
– ประวัติและพัฒนาการกลุ่มทอผ้านาหมื่นศรี
– อื่นๆ

– บทที่ 3 : องค์ความรู้เรื่องผ้านาหมื่นศรี ( แบ่งเป็น 5 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย อาทิ )
– ประวัติวัฒนธรรมการใช้ผ้า
– ชนิดของผ้า
– ลายผ้าหมื่นศรี
– อื่นๆ

– บทที่ 4 : ปฏิบัติการทอผ้า ( แบ่งเป็น 5 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย อาทิ )
– ศัพท์ที่ใช้ในการทอผ้านาหมื่นศรี
– วัสดุอุปกรณ์ทอผ้า
– เส้นด้ายและการใช้งาน
– อื่นๆ

– บทที่ 5 : บทสรุป ( แบ่งเป็น 6 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย อาทิ )
– การสรุปผลตามวัตถุประสงค์
– ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นหลังจากงานวิจัย
– ปัญหา อุปสรรค
– ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ
– อื่นๆ

– บรรณานุกรม
– ผู้ให้ข้อมูล
– ที่ปรึกษางานวิจัย
– รายชื่อนักวิจัย

– หนา 180 หน้า ( ขนาด 145*210*10 มม. )

– 650- จัดส่งลทบ.ฟรี

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

แลของ : วิถีชีวิตชุมชนสองฝั่งโขงไทย-ลาว : เรื่องเล่าจากภาพ

…..ลัดเลาะสองริมฝั่งโขงไทย-ลาว แล้วเก็บเรื่องราวมาเล่าผ่านภาพนิ่งไว้ 1,000 เล่ม……

– แลของ : วิถีชีวิตชุมชนสองฝั่งโขงไทย-ลาว : เรื่องเล่าจากภาพ
– โดย อุดมรัตน์ ดีเอง
– สนับสนุนและจัดพิมพ์โดย ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ( จัดพิมพ์ครั้งแรก พ.ย. 2550 ( จำนวน 1,000 เล่ม ) )

– ภายในประกอบด้วย

– คำนำ โดย ผศ. ดร. เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ (ผอ. ศูนย์วิจัยฯ )
– คำนำผู้เขียน
– บทนำ
– แม่น้ำแห่งชีวิต สายสัมพันธ์ลุ่มน้ำโขงไทย-ลาว
– ภาพเส้นทางศึกษา

– ภาพเล่าเรื่อง ( ผลงานภาพ พร้อมคำประกอบ ระบุ วัน/เดือน/ปี ที่บันทึกภาพ ร่วม 100 ภาพ )

– ปกแข็งชนิดอ่อน ( ขนาด 190*190*10 มม. )

– 350- จัดส่งลทบ.ฟรี

*** ปก หน้า/หลัง มอมแมมเล็กน้อย รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

เมืองโบราณในอาณาจักรสุโขทัย ( หนังสือในโครงการหนังสือชุด 72 ปี รศ. ศรีศักร วัลลิโภดม (ลำดับที่ 2))

….เล่าเรื่อง เมืองโบราณ แห่งอาณาจักรสุโขทัย….

– เมืองโบราณในอาณาจักรสุโขทัย ( หนังสือในโครงการหนังสือชุด 72 ปี รศ. ศรีศักร วัลลิโภดม (ลำดับที่ 2))
– โดย รศ. ศรีศักร วัลลิโภดม
– พิมพ์ครั้งที่ 2 / ม.ค. 2552 ( จำนวน 3,000 เล่ม )

– ภายในแบ่งเป็น 4 บทใหญ่ และภาคผนวก ประกอบด้วย

– คำนำต่างๆ

– บทนำ

– บทที่ 1 : ประวัติศาสตร์ของบริเวณที่เคยเป็นแคว้นสุโขทัย

– บทที่ 2 : ข้อมูลใหม่จากการสำรวจทางโบราณคดี ( ภายในแบ่งเป็น 5 กลุ่มลุมน้ำต่างๆ ประกอบด้วย )
– ลุ่มน้ำยม ( ภายในแบ่งเป็น 3 หัวข้อย่อย )
– ลุ่มน้ำน่าน ( ภายในแบ่งเป็น 2 หัวข้อย่อย )
– ลุ่มน้ำปิง ( ภายในแบ่งเป็น 4 หัวข้อย่อย )
– ลุ่มน้ำป่าสัก ( ภายในประกอบด้วย 1 หัวข้อย่อย )
– ลุ่มน้ำเมย

– บทที่ 3 : การวิเคราะห์และการตีความ ( ภายในแบ่งเป็น 2 หัวข้อใหญ ประกอบด้วย )
– การตั้งหลักแหล่งและรูปแบบของเมือง
– การกำหนดแหล่งและรูปแบบของเมือง ( ภายในแบ่งเป็น 4 กลุ่มหัวข้อย่อย ประกอบด้วย อาทิ )
– ชุมชนที่พบโบราณสถานวัตถุแบบทวารวดีและลพบุรี
– ชุมชนที่พบโบราณวัตถุแบบทวารวดีและโบราณสถานแบบลพบุรี สุโขทัย และอยุธยา
– อื่นๆ

– บทที่ 4 : บทสรุป

– ภาคผนวก : รายชื่อชุมชนในเขตแคว้นสุโขทัย

– หนา 384 หน้า ( ขนาด 165*230*20 มม. )

– 490- จัดส่งลทบ.ฟรี

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

เตาแม่น้ำน้อย ( รายงานการสำรวจและขุดค้น เตาแม่น้ำน้อย ต.เชิงกลัด อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี )

….ค้นขุดลงลึกแกะรอยไปตามเรื่องราว ของ “เตาแม่น้ำน้อย”….( หนังสือจำหน่ายออกจากห้องสมุดครับ )…..

– เตาแม่น้ำน้อย ( รายงานการสำรวจและขุดค้น เตาแม่น้ำน้อย ต.เชิงกลัด อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี )
– เรียบเรียงโดย นายสายันต์ ไพรชาญจิตร์
– จัดพิมพ์ครั้งแรก ธ.ค. 2531 ( จำนวน 2,000 เล่ม )

– ภายในประกอบด้วย อาทิ

– คำนำ / บทนำ
– ภูมิศาสตร์สิงห์บุรีและแม่น้ำน้อย
– การสำรวจแหล่งเตาแม่น้ำน้อย
– การขุดค้น
– เตาหมายเลข 1/5
– เตาหมายเลข 2
– ผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาแหล่งเตาแม่น้ำน้อย
– อายุสมัย
– บทบาทของเครื่องปั้นดินเผาจากแหล่งเตาแม่น้ำน้อยในตลาดการค้าระหว่างประเทศ
– ความสับสนในการแปลความแหล่งผลิตไหสี่หูเคลือบสีน้ำตาลที่พบในแหล่งเรือจมในอ่าวไทยและในต่างประเทศ
– อื่นๆ

– หนา 96 หน้า ( ขนาด 185*260*05 มม. )

– 280- จัดส่งลทบ.ฟรี

*** หนังสือจำหน่ายออกจากห้องสมุดมีรอยปั๊มประปราย ปกหน้าพกช้ำบางเล็กน้อย รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.