พัดรองงานพระราชพิธี ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทมรมหาภูมิพลอดุลยเดช ( ที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสงานฉลองพระชันษา 100 ปี สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก 3 ตุลาคม 2556 )

……ว่าด้วย “พัดรองงานพระราชพิธีในรัชกาลพระบามสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” (พร้อมกล่องส่วน : ตำหนิเล็กน้อยครับ)……

– พัดรองงานพระราชพิธี ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทมรมหาภูมิพลอดุลยเดช ( ที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสงานฉลองพระชันษา 100 ปี สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก 3 ตุลาคม 2556 )
– จัดพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2556

● ภายในประกอบด้วย

         – คำปรารภ
         – ความหมายตราสัญลักษณ์

         – บทที่ 1 ตาลปัตร : สมณบริขารสำหรับพระสงฆ์ (แบ่งย่อยภายในออกเป็น อาทิ)
             – ความหมาย
             – ตาลปัตรในพุทธประวัติและประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
             – มูลเหตุในการใช้ตาลปัตร
             – พัดยศสมณศักดิ์
             – สมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทยปัจจุบัน
             – ลักษณะของพัดยศสมณศักดิ์ (อาทิ)
                – พัดหน้านาง
                – พัดพุดตาน
                – ฯ

            – พัดยศพิเศษ (อาทิ)
                – ตาลปัตรแฉกงานปรุ
                – พัดแฉกถมปัด
                – ฯ

           – พัดยศประจำตำแหน่ง (อาทิ)
                – สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
                – สมเด็จพระราชาคณะ ชั้นสุพรรณบัฏ
                – ฯ

           – สมณศักดิ์ของพระอนัมนิกายและพระจีนนิกายในไทย (อาทิ)
                – พระสงฆ์อนัมนิกาย
                – พระสงฆ์จีนนิกาย

           – ฯลฯ

       – บทที่ 2 : พัดรัตนาภรณ์กรุงรัตนโกสินทร์ (แบ่งย่อยภายในออกเป็น อาทิ)
            – ความเป็นมา
            – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 4 – รัชกาลที่ 9
            – พัดรัตนาภรณ์ (พัดรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 4 – รัชกาลที่ 9)
            – พัดรัตนาภรณ์ถวายพระพุทธรูปสำคัญ

        – บทที่ 3 : พัดรองที่ระลึกงานพระราชพิธี ในรัชกาลพระบามสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดช (แบ่งย่อยภายในออกเป็น อาทิ)
             – งาพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาและฉลองพระชนมายุ ครบรอบปีนักษัตร
             – งานพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติ
             – ฯ

         – บที่ 4 : พัดรองที่ระลึกในโอกาสฉลองพระราชวงศ์ทรงได้รับการประกาศพระเกียรติคุณเป็นบุคคลสำคัญของโลก (แบ่งย่อยภายในออกเป็น อาทิ)
              – ภารกิจของยูเนสโก
              – หลักเกณฑ์ของยูเนสโก
              – พระราชวงศ์ที่ทรงได้รับการประกาศพระเกียรติคุณ

         – บทที่ 5 : พัดรองที่ระลึกสร้างถวายพระเถระผู้ใหญ่ในโอกาสพิเศษ

– ปกแข็งกระดาษอาร์ตหนา 308 หน้า (ขนาด 220*310*40 มม.)(พร้อมกล่องสวม)

– 1,250- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** ช่วงสันและขอบพกช้ำบางจากการจัดเก็บรูปเล่มและส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

ราชประดิษฐ พิพิธบรรณ ( จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสที่วันพระบรมสมภพครบ 206 ปี (18.ต.ค.2553) และคล้ายวันสวรรคต (1 ต.ค. 2553) ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว )

…..พิศในพิพิธสถานแห่ง ราชประดิษฐ….(ตำหนิเล็กน้อยครับ)……

– ราชประดิษฐ พิพิธบรรณ ( จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสที่วันพระบรมสมภพครบ 206 ปี (18.ต.ค.2553) และคล้ายวันสวรรคต (1 ต.ค. 2553) ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว )
– บรรณาธิการโดย พิชญา สุ่มจินดา
– จัดพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ก.ย.2553 ( จำนวน 3,000 เล่ม )

– ภายในแบ่งเนื้อหาออกเป็น 5 หมวดใหญ่ ประกอบด้วย อาทิ

          – “ราชประดิษฐพิพิธบรรณ” กับวัดเล็ก ๆ ที่เรียกว่า “วัดราชประดิษฐ ฯ” (โดย พิชญา สุ่มจินดา (บรรณาธิการ))

          ● ภายในประกอบด้วย
         
          ● หมวดประวัติพระอาราม (ประกอบด้วย)
                – พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5 ว่าด้วย วัดพระนามบัญญัติ วัดราชประดิษฐ
                – ความผูกพันที่รัชกาลที่ 4 ทรงมีต่อวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม (โดยหม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรี)
     
           ● หมวดประติมากรรม (ประกอบด้วย)
                – พระพุทธชินราช พระพุทธชินศรี และพระศรีศาสดา “จำลอง” ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม (โดย พิชญา สุ่มจินดา)
                – ตุ๊กตาศิลจีน “โป๊ยเซียน” หน้าพระวิหารหลวง วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม (โดย ศานติ-นวรัตน์ ภักดีคำ)

            ● หมวดสถาปัตยกรรม (ประกอบด้วย)
                 – พระที่นั่งทรงธรรม : วัดราชประดิษฐมหาสีมาราม (หม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรี)
                 – หอระฆังยอดทรงมงกุฎ และระฆังแบบฝรั่ง จารึกพระปรมาภิไธยย่อ ของรัชกาลที่ 4 ที่วัดราชประดิษฐ ฯ (โดย พิมพ์พร ไชยพร)

            ● หมวดจิตรกรรม (ประกอบด้วย)
                  – สุริยุปราคาในวังหลวง (โดย สุรชัย จงจิตงาม)
                  – มายาภาพสี่ทศวรรษ : จิตรกรรมพระราชพิธีเดือนเก้า ที่วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม (โดย ฉัตรบงกช ศรีวัฒนสาร)

           ● หมวดศาสนวัตถุ (ประกอบด้วย)
                  – เครื่องบริขารและโบราณวัตถุสำคัญของสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สา ปุสฺสเทโว ที่เก็บรักษาอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร (โดย ณัฏฐภัทร จันทวิช)
                  – บุษบกธรรมาสน์ยอดมงกุฎ ในการเปรียญวัดราชประดิษฐ ฯ (โดย พิชญา สุ่มจินดา)

– หนา 239 หน้า (ขนาด 165*240*15 มม.)


– 450- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** มุมขอบล่างช่วงหลังมีรอยพกช้ำเล็กน้อย ภายในและรูปเล่มส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

The Base of Siam : รากไทย


…..มอง “ราก” ผ่านภาพจาก “ฟิล์มอินฟราเรดขาวดำ”……

– The Base of Siam : รากไทย
– โดย สมศักดิ์ พัฒนพิฑูรย์
– ผลงานบันทึกภาพถ่ายจาก โบราณสถานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และปราสาทสัจธรรมแห่งจังหวัดชลบุรี (บันทึกระหว่าง พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2550)

– ภายในประกอบด้วย

          – คำนิยมโดย สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ และ จิตต์ จงมั่นคง
          – ก่อนกำเนิด “รากไทย” โดย สมศักดิ์ พัฒนพิฑูรย์
          – ผลงานภาพต่าง ๆ
          – เก็บเล็กผสมน้อยเรื่องย่อย ๆ ของฟิล์มอินฟราเรด ขาว-ดำ โดย สมศักดิ์ พัฒนพิฑูรย์ (ไทย/อังกฤษ)(จำนวน 9 หน้า)
           – ประวัติศิลปิน

– ปกแข็งชนิดอ่อนหนา 142 หน้า (ขนาด 240*295*20 มม.)

– 850- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** ใบรองปกหน้ามีลายเซ็นศิลปินเขียนมอบไว้ รูปเล่มและส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***