เอกสารค้นคว้าวิจัย เรื่อง “วิวัฒนาการของเครื่องเรือนไทยโบราณ” ( เนื่องในนิทรรศการ “สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น” ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง เมื่อ พ.ศ. 2525 )

….เอกสารค้นคว้าวิจัย เรื่อง “วิวัฒนาการของเครื่องเรือนไทยโบราณ” (เนื่องในนิทรรศการ “สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น” ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง เมื่อ พ.ศ. 2525)….(ตำหนิเล็กน้อยครับ)…..

– เอกสารค้นคว้าวิจัย เรื่อง “วิวัฒนาการของเครื่องเรือนไทยโบราณ” ( เนื่องในนิทรรศการ “สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น” ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง เมื่อ พ.ศ. 2525 )
– โดย ประศาสน์ คุณะดิลก

– ภายในประกอบด้วย อาทิ

        – บทคัดย่อ
        – คำนำ

        – บทที่ 1 : บทนำ (จำนวน 4 หน้า)
        – บทที่ 2 : การนำเข้าสู่การวิเคราะห์ (แบ่งเป็น อาทิ)(จำนวน 19 หน้า)
            – การนำเข้าสู่การวิเคราะห์
            – สภาพความเป็นอยู่
            – เครื่องเรือนและการตกแต่งภายใน
            – เครื่องเรือนไทยกับอิทธิพลที่ได้รับ
             – มูลเหตุที่เครื่องเรือนไทยได้รับอิทธิพลมาจากจีน

         – บทที่ 3 : การวิเคราะห์ (แบ่งเป็น อาทิ)(จำนวน 10 หน้า)
              – ส่วนของเครื่องเรือน
              – การตกแต่งตัวเครื่องเรือน
              – รูปทรงของเครื่องเรือน

          – บทที่ 4 : สรุปผลการวิจัย

          – บรรณานุกรม และสำเนาภาพประกอบตัวอย่างต่าง ๆ

– หนารวมร่วม 80 หน้า (ขนาด 210*285 มม.)

– 450- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** ใบรองปก หน้า/หลัง มอมแมม สันข้างถลอกหนึ่งจุดเล็กน้อย รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อดดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

เครื่องไม้ไผ่-หวาย

…..ร่วม 400 หน้า ว่าด้วยเรื่อง “เครื่อง ไม้ไผ่-หวาย”…(ตำหนิเล็กน้อยครับ)…..

– เครื่องไม้ไผ่-หวาย
– โดย สนไชย ฤทธิโชติ
– พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2539

– ภายในแบ่งเป็น 10 บทใหญ่ ประกอบด้วย อาทิ

         – คำนำ

         – บทที่ 1 : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับไม้ไผ่-หวาย (แบ่งเป็น 4 หัวข้อย่อย อาทิ)
              – ลักษณะโดยทั่วไปของไม้ไผ่-หวาย
              – ประโยชน์ของไม้ไผ่
              – ลักษณะของหวายโดยทั่วไป
              – อื่น ๆ

          – บทที่ 2 : การพัฒนาการของงานเครื่องไม้ไผ่-หวาย (แบ่งเป็น 4 หัวข้อย่อย อาทิ)
               – ยุคก่อนประวัติศาสตร์ชาติไทย
               – ยุคประวัติศาสตร์ชาติไทย
               – ยุครัตนโกสินทร์
               – อื่น ๆ

          – บทที่ 3 : ไม้ไผ่ชนิดที่สำคัญในประเทศไทย (แบ่งเป็น 4 หัวข้อย่อย อาทิ)
                – ไม้ไผ่ชนิดต่าง ๆ ที่นำมาใช้งาน
                – การขยายพันธุ์ไม้ไผ่ และการเจริญเติบโต
                – อื่น ๆ

           – บทที่ 4 : เครื่องมือและเครื่องจักรงานไม้ไผ่-หวาย (แบ่งเป็น 8 หัวข้อย่อย อาทิ)
                – เครื่องมือที่ใช้ในการตัด
                – เครื่องมือที่ใช้ในการวัด
                – เครื่องมือที่ใช้ในการตอก
                – อื่น ๆ

           – บทที่ 5 : การเตรียมไม้ไผ่-หวาย เพื่อใช้งาน (แบ่งเป็น 4 หัวข้อย่อย อาทิ)
                – การตัดไม้ไผ่-หวาย
                – การเก็บถนอมไม้ไผ่
                – อื่น ๆ

          – บทที่ 6 : กรรมวิธีการย้อมสีและตกแต่งผิวไม้ไผ่-หวาย (แบ่งเป็น 5 หัวข้อย่อย อาทิ)
                – วิธีเตรียมไม้ไผ่ก่อนย้อม
                – การฟอกขาว
                – การให้สีบนผิวไม้ไผ่-หวาย
                – อื่น ๆ

           – บทที่ 7 : ผลิตภัณฑ์เครื่องจัสาน (แบ่งเป็น 4 หัวข้อย่อย อาทิ)
                – วัตถุประสงค์การผลิตงานไม้ไผ่-หวาย
                – วัสดุที่ใช้ในการผลิต
                – กรรมวิธีการสาน
                – อื่น ๆ

          – บทที่ 8 : การเก็บริม การเข้าขอบ การผูกมัด การถักลาย (แบ่งเป็น 4 หัวข้อย่อย อาทิ)
               – การเข้าขอบริมในตัว
               – การเก็บริมโดยการเข้าขอบ
               – อื่น ๆ

           – บทที่ 9 : งานเครื่องเรือนไม้ไผ่-หวาย (แบ่งเป็น 4 หัวข้อย่อย อาทิ)
               – หลักการออกแบบเครื่องเรือน
               – การศึกษารูปแบบเครื่องเรือนไม้ไผ่-หวาย
               – อื่น ๆ

          – บทที่ 10 : ไม้ไผ่-หวาย กับการวิวัฒนาการสมัยใหม่ (แบ่งเป็น 4 หัวข้อย่อย อาทิ)
               – งานเพลาะอัดไม้ไผ่
               – การนำผิวไม้ไผ่มาใช้
               – อื่น ๆ

          – บรรณานุกรม
          – อภิธารศัพท์
          – ภาคผนวก

– หนา 387 หน้า (ขนาด 170*240*20 มม.)

– 380- จัดส่ง ลทบ.ฟรี

*** ใบรองปกหน้ามีรอยปากกาเขียนไว้เล็กน้อย ช่วงภาพประกอบสีสันกาวแห้งเสื่อมไม่หลุด ส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***