นาฏศิลป์และดนตรีไทย ศูนย์สังคีตศิลป์ ( รวมสูจิบัตรการแสดงนาฏศิลป์และดนตรีไทย พ.ศ. 2522-2525 จัดแสดง ณ ศูนย์สังคีตศิลป์ )

……ว่าด้วย “นาฏศิลป์และดนตรีไทย” จาก สูจิบัตร ระหว่าง พ.ศ. 2522-2525 ของ ศูนย์สังคีตศิลป์……

– นาฏศิลป์และดนตรีไทย ศูนย์สังคีตศิลป์ ( รวมสูจิบัตรการแสดงนาฏศิลป์และดนตรีไทย พ.ศ. 2522-2525 จัดแสดง ณ ศูนย์สังคีตศิลป์ )
– จัดพิมพ์เผยแพร่ โดย ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (จำนวน 1,000 เล่ม)

– ภายในแบ่งเป็น 2 ภาคใหญ่ ประกอบด้วย

              – คำนำ จัดพิมพ์

              – ภาคที่ 1 : นาฏศิลป์ไทย (ประกอบด้วยกว่า 40 หัวข้อภายใน อาทิ)
                    – นาฏยาภรณ์ โดย อ. เสรี หวังในธรรม
                    – ระบำรำฟ้อน โรงเรียนราชทัศน์นาฏศิลป์
                     – ตลกโขน โดย อ. เสรี หวังในธรรม
                     – ดนตรีไทยสลับนาฏศิลป์ วิทยาลัยครูจันทรเกษม
                     – เสภาตลก โดย อ. เสรี หวังในธรรม
                     – ละครร้อง เรื่อง “หวนให้ใจหาย” คณะจันทโรภาส
                     – ตลกภาษา โดย อ. เสรี หวังในธรรม
                     – เริงรำทำเพลง โรงเรียนราชวินิต และโรงเรียนราชประชาอุปถัมภ์
                     – ปี่พาทย์ไม้แข็งเครื่องใหญ่ กองสันทนาการ กรุงเทพฯ
                     – ละคอนผู้ชาย โดย อ. เสรี หวังในธรรม
                     – ละคอนหญิง โดย อ. เสรี หวังในธรรม
                     – ฯลฯ

      
            – ภาคที่ 2 : ดนตรีไทย (ประกอบด้วย 25 เรื่องย่อยภายใน ประกอบด้วย อาทิ)
                      – ดนตรีนาฏศิลปสาธิตชุดไปเกาหลีและญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
                      – ดนตรีไทยมัธยมศึกษา โรงเรียนสตรีวิทยาและโรงเรียนวัดบวรนิเวศ
                      – ดนตรีไทยในวรรณคดี โดย อ. เสรี หวังในธรรม
                      – ดนตรีไทยมัธยมศึกษา โรงเรียนศรีอยุธยา
                      – ดนตรีไทยในพระธรรมวินัย โดย อ. เสรี หวังในธรรม
                      – เพลงหน้าพาทย์ โดย อ. เสรี หวังในธรรม
                      – ฯลฯ

– หนา 357 หน้า (ขนาด 192*263*18 มม.)

– 650- จัดส่งลทบ.ฟรี

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

เมืองเชียงแสน ( จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย เมื่อ พ.ศ. 2539 )

…..ว่าด้วย การตั้งถิ่นฐาน สถาปนาและโบราณสถานและโบราณวัตถุ ของ เมืองเชียงแสน……

– เมืองเชียงแสน ( จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย เมื่อ พ.ศ. 2539 )
– จัดพิมพ์ครั้งแรก มิ.ย. 2539

– ภายในประกอบด้วย

        – คำนำ

        – เชียงแสนในอดีต โดย นายปริวรรต ธรรมาปรีชากร (แบ่งเป็น)
             – การตั้งถิ่นฐาน (ประกอบด้วย)
                 – สมัยก่อนยประวัติศาสตร์
                 – สมัยประวัติศาสตร์

             – สถาปนาเมืองเชียงแสน (ประกอบด้วย)
                 – เชียงแสนในราชอาณาจักรล้านนา
                 – อำนาจปกครองของพม่า
                 – เชียงแสนภายใต้ราชอาณาจักรสยาม

             – ลักษณะเมืองและชุมชน

             – เชียงแสนวันนี้
             – พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน (ประกอบด้วย)
                   – ประวัติความเป็นมา
                   – การจัดแสดง

             – การจัดการโบราณสถานเมืองเชียงแสน โดย นายทรรศนะโดยอาษา

            – บรรณานุกรม

– ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนา 128 หน้า (ขนาด 218*294*08 มม.)

– 350- จัดส่งลทบ.ฟรี

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

ครบรอบ 100 ปี เพลงเขมรไทรโยค ( ที่ระลึกในวโรกาส สมเด็จพระเทพรัตนาราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานในงานเฉลิมฉลอง 100 ปี เพลงเขมรไทรโยค ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เมื่อ จันทร์ที่ 19 กันยายน 2531 )

……รฦก ไว้ เมื่อครบ 100 ปี ของ “เพลงเขมรไทรโยค” เมื่อ พุทธศักราช 2531…(ตำหนิเล็กน้อยครับ)……

– ครบรอบ 100 ปี เพลงเขมรไทรโยค ( ที่ระลึกในวโรกาส สมเด็จพระเทพรัตนาราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานในงานเฉลิมฉลอง 100 ปี เพลงเขมรไทรโยค ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เมื่อ จันทร์ที่ 19 กันยายน 2531 )

– ภายในประกอบด้วย

        – คำนำ โดย ม.จ.ดวงจิต จิตรพงศ์

        – กำหนดการ
        – ลำดับการแสดง (ประกอบด้วย 7 ลำดับ)
        – รายละเอียดเกี่ยบกับการแสดง (ประกอบด้วยการแสดง 7 การแสดง)
        – ประวัติเพลงเขมรไทรโยค โดย นพ.พูนพิศ อมาตยกุล (จำนวน 13 หน้า)
        – รายนามนักดนตรี และผู้แสดง

        – ภาคผนวก (ประกอบด้วย)
              – พระประวัติ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์(จำนวน 30 หน้า)
              – สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ผู้ได้พระราชทานสร้อยพระนามเฉลิมพระเกียรติยศว่า “สังคีตวิทิตวิธีวิจารณ์” โดย ดวงจิตต์ จิตรพงศ์ (จำนวน 9 หน้า)
              – บทเพลงพระราชนิพนธ์บางบท ของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ที่ได้รับความนิยมเผยแพร่ (คัดจาก บทละครดึกดำบรรพ์ บทคอนเสิร์ต และบทตาโบลวิวังต์)(จำนวน 21 หน้า)
             – คำอธิบาย ตับเรื่อง รามเกียรติ์ : ตอน นางลอย บั้นต้น, ตอน นางลอย บั้นปลาย, ตอน อินทรชิตแผลงศรนาคบาศ
            – บทคอนเสิร์ต สมเด็จ ฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงเรียบเรียงสำหรับงานรับแขกเมือง เมื่อรัชกาลที่ 5

– ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนา 125 หน้า (ขนาด 185*265*08 มม.)

-350- จัดส่งลทบ.ฟรี

*** ปก หน้า/หลัง มีรอยพับถลอกพช้ำบาง รูปเล่มและภายในแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***
           

การจัดแสดงผลงานศิลปกรรมภาพเขียนนู้ด (nude) ครั้งที่ 4 (จัดแสดงเมื่อ 9 ก.ย. – 3 ต.ค. 2562)


งามนั้น…
หาใช่เพียงที่กายงาม
หรือแต่งแต้มงามให้จับจิต
ด้วยสีสรรค์ที่ปัดวาดแต่ง
ปรุงแต้มจนอาจเปรอะบนใบหน้า
หญิง ชาย
เมื่อเปลื้องเปลือยจนหมดสิ้น
สิ่งเดียวที่หลงเหลืออยู่มิอาจสิ้น
เมื่อสูญสิ้นแสงของแรงเทียน
นั่นคือ งามจับจิต
อยู่ที่จิตอันงดงาม
ที่ซ่อนซุกอยู่ภายใต้
กายงามของ โครงกระดูก
แม้เมื่อยามที่ผุพังโรยลง
.
.
แน่นอนว่าข้าพเจ้าย่อมคือหนึ่งในผู้ที่ลุ่มหลงรูปงามเมื่อแสงแรกแทรกส่องกระทบ แต่ทว่าข้าพเจ้าก็เหมือนกับเธออีกหลาย ๆ คนเช่นกัน ที่ปรารถนายิ่งที่จะค่อย ๆ เอื้อมสัมพัสถึงจิตที่เธอฉันเราต่างประคองและซ่อนซุกมันไว้อยู่ในบทสนทนา และความคิดที่เป็นเรา เมื่อแรกก้าวของทักทายสนทนาผ่านโมงยาม
.
.
(เพ้อ : ชายเร่ร่อน (เป็นเพียงบางมุมของทรรศนะ มิได้มีจุดประสงค์ในเชิงตัดสิน หรือวิพากษต่อสิ่งใด หากมีพลาดผิดพลั้งไป ต้องขออภัยไว้ยังที่นี้ด้วยนะครับ))



การจัดแสดงผลงานศิลปกรรมภาพเขียนนู้ด (nude) ครั้งที่ 4 (จัดแสดงเมื่อ 9 ก.ย. – 3 ต.ค. 2562)



(ภายในประกอบด้วยผลงานจำนวน 40 ชิ้น จาก 5 ศิลปินที่ร่วมแสดงงาน ประกอบด้วย : สุวัฒน์ วรรณมณี / ดินหิน รักพงษ์อโศก / ชัชวาลย์ รอดคลองตัน / วสันต์ สิทธิเขตต์ / สุพร แก้วตา / และ ณรงค์ฤทธิ์ กาลจิตร์)



ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนา  60 หน้า (ขนาด 185*230 มม.)



550- จัดส่งลทบ.ฟรี



#นู้ด.#วสันต์สิทธิเขตต์.#ณรงค์ฤทธิ์กาลจิตร์.#สุพรแก้วตา.#สุวัฒน์วรรณมณี.#ดินหินรักพงษ์อโศก.#นิทรรศการบนหน้ากระดาษ.#เพ้อ.#ชายเร่ร่อน.#นิยมรัก.#ร้านข้างเขตฯ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

หนังสือที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงศพ รศ. ดร. วีระ สัจจกุล ม.ว.ม., ป.ช. (อดีต คณบดีสถาปัตยกรรมศาสตร์, รองอธิการบดี จุฬา ฯ, อธิการบดี สถาบันอาศรมศิลป์, ฯลฯ) เมื่อ 31 ต.ค. 2558

……บนเรือนหน้าปัดของชีวิต กับการมีอยู่ในห้วงหนึ่งของโมงยาม…(ตำหนิเล็กน้อยครับ)……

– หนังสือที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงศพ รศ. ดร. วีระ สัจจกุล ม.ว.ม., ป.ช. (อดีต คณบดีสถาปัตยกรรมศาสตร์, รองอธิการบดี จุฬา ฯ, อธิการบดี สถาบันอาศรมศิลป์, ฯลฯ) เมื่อ 31 ต.ค. 2558

– ภายในประกอบด้วย อาทิ

        – ประวัติ รศ. ดร.  วีระสัจจะกุล (แบ่งออกเป็น)
             – ประวัติส่วนตัว
             – ประวัติการศึกษา
             – ประวัติการทำงาน
             – ประสบการณ์การทำงาน (วิชาภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย)
             – งานบริการสังคม
             – งานวิจัยและงานทางวิชาการ
             – ผลงานออกแบบต่าง ๆ
             – ภาพประวัติบางส่วน

       – เกียรติคุณ เกียรติยศ

       – เรื่อง ครอบครัวเรามีความสุข (ผลงานออกแบบตัวหนังสือ (FRONT) เป็นหน้าปกหนังสืออ่านสำหรับเด็กเมื่อปี พ.ศ. 2515 (พร้อม ผลงาน ภายใน เรื่องโดย กรรณิการ์ สัจจกุล (ภรรยา), เขียนภาพโดย วีระ สัจจกุล (ถ่ายแบบออกมาจากต้นฉบับเดิม จำนวน 17 หน้าจบ)

         – เรื่อง ไข่ขอมา (หนังสือส่งเสริมการอ่านระดับประถมศึกษา) เรื่องโดย กรรณิการ์ สัจจะกุล, ภาพโดย วีระ สัจจกุล (ถ่ายแบบออกมาจากต้นฉบับเดิมเมื่อปี 2541 : จำนวน 10 หน้าจบ)

         – ลูกรักของพ่อ (ข้อเขียนและเรื่องราวบางส่วนระหว่างสายใยของลูกและพ่อ)
         – ปกิณกะครอบครัว (เรื่องเล่าจากครอบครัว)
         – เรื่องของแม่ (บ้าง)(สายใยระหว่างสองคนและความผูกพันธ์)
         – กำลังใจจากกัลยาณมิตร
         – บันทึก จุฬาฯ ในดวงใจ (ความผูกพันธ์ระหว่างสถาบันจุฬาฯ กับ ตัวอาจารย์

         – เก็บตกบันทึก (รวบรวมผลงานภาพสเก็ต และบันทึกบางส่วน : จำนวน 16 หน้า)
         – ด้วยรักและห่วงใยที่อาจารย์บู๊มีต่ออาศรมศิลป์อันมิอาจลืมเลือน (จำนวน 19 หน้า)
         – บันทึกสุดท้าย (ผลงาน, ขัอเขียน จากบันทึกบางส่วน)
         – คำอาลัยต่าง ๆ

         – ปาฐกถาพิเศษโครงการ “จดจำครู” ครั้งที่ 1 ทัศนาจร การเรียนรู้ การทำงาน โดย รศ. ดร. วีระ สัจจกุล เมื่อ 21 ธ.ค. 2549 (จำนวน 28 หน้า)

– ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนารวมร่วม 550 หน้า (ขนาด 230*225*30 มม.)

– 850- จัดส่งลทบ.ฟรี

*** ช่วงมุมขอบบนมีผลกระทบจากความชื้นจากการจัดเก็บเล็กน้อย รูปเล่มและส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการนำข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนเองไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***