ครบรอบ 81 ปี อังคาร กัลยาณพงศ์ (ที่ระลึก งานแสดงผลงานศิลปกรรมของ อังคาร กัลยาณพงศ์ (ศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. 2532 สาขาวรรณศิลป์ (กวีนิพนธ์) เมื่อ 9-29 ก.พ. 2551 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ)

……ดวงจิต แห่ง จิตร รฦกไว้ในวาระ ครบรอบ 81 ปี ‘อ. อังคาร กัลยาณพงศ์’……(ตำหนิเล็กน้อยครับ)…..

– ครบรอบ 81 ปี อังคาร กัลยาณพงศ์ (ที่ระลึก งานแสดงผลงานศิลปกรรมของ อังคาร กัลยาณพงศ์ (ศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. 2532 สาขาวรรณศิลป์ (กวีนิพนธ์) เมื่อ 9-29 ก.พ. 2551 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ)

– ภายในประกอบด้วย

– คำนำต่าง ๆ และภาพประวัติบางส่วน

– บทสัมภาษณ์ (จำนวน 7 หน้า)
– ส่วนผลงาน : จิตรกรรม ภาพลายเส้น และภาพร่าง (จำนวนร่วม 120 ภาพผลงาน)
– เกียรติประวัติ และผลงาน (จำนวน 9 หน้า)

– ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนากว่า 150 หน้า (ขนาด 243*290*12 มม.)

– 850- จัดส่งลทบ.ฟรี

*** ปก หน้า/หลัง มีรอยคราบมอมแมมบางจากการจัดเก็บ รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

สมาคมศิษย์เก่า ศิลปศึกษา-ช่างศิลป (ที่ระลึก 40 ปี ศิลปศึกษา – ช่างศิลป และ การเลือกตั้งนายกสมาคม และคณะกรรมการบริหาร พ.ศ. 2536 – พ.ศ. 2538 เมื่อวันเสาร์ที่ 3 ก.ค. 2536 ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ กรุงเทพฯ)

…..รฦก ไว้เมื่อ พ.ศ. 2536 ในวาระครบ 40 ปี “ศิลปศึกษา – ช่างศิลป”….(ตำหนิเล็กน้อยครับ)……

– สมาคมศิษย์เก่า ศิลปศึกษา-ช่างศิลป (ที่ระลึก 40 ปี ศิลปศึกษา – ช่างศิลป และ การเลือกตั้งนายกสมาคม และคณะกรรมการบริหาร พ.ศ. 2536 – พ.ศ. 2538 เมื่อวันเสาร์ที่ 3 ก.ค. 2536 ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ กรุงเทพฯ)

– ภายในแบ่งเป็น ประกอบด้วย อาทิ

– คำนำ จัดพิมพ์

– พระพิฆเณศวร์
– วัดบวรสถานสุทธาวาส
– ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี : บิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทย (จำนวน 19 หน้า)
– การนำศิลปะเข้าสู่สถานศึกษา (อาทิ)
– ดร. สุวิชญ์ รัศมิภูติ
– นายมงคล บุญวงศ์
– ฯ

– วิทยาลัยช่างศิลป (แบ่งออกเป็น 7 หัวข้อใหญ่ อาทิ)
– ประวัติและที่ตั้งโดยสังเขป
– เป้าหมายของการศึกษา
– โครงการพัฒนา
– อื่น ๆ

– นายประยูร อุลุชาฏะ (ประวัติโดยสังเขป)
– บนเส้นทางไป หมาลัยศิลปากร และการสัมพัสกับศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี โดย น. ณ ปากน้ำ (ข้อเขียนจำนวน 14 หน้า)
– นายสวัสดิ์ ตันติสุข (ประวัติโดยสังเขป)
– 40 ปี ศิลปศึกษา – ช่างศิลป โดย สวัสดิ์ ตันติสุข (ข้อเขียนจำนวน 14 หน้า)
– นายกนก บุญโพธิ์แก้ว(ประวัติโดยสังเขป)
– วิทยาลัยช่างศิลปในความทรงจำ (2528-2532)
– นายธงชัย รักปทุม (ประวัติโดยสังเขป)

– ประวัติและความเป็นมาในการก่อตั้งสมาคม “ศิษย์เก่าศิลปศึกษา – ช่างศิลปะ” : ที่มาของคำว่า “ศิลปศึกษา – ช่างศิลป”

– สมาคมศิษย์เก่าศิลปศึกษา – ช่างศิลป (รายละเอียดต่าง ๆ)

– บทความวิชาการ (ประกอบด้วย อาทิ)
– อะไรคือศิลป : โดย อ. ศิล) พีระศรี แปลเป็นภาษาไทยโดย พระยาอนุมานราชธน (จำนวน 5 หน้า)
– ตะวันตก กับ ตะวันออก แปลโดย เขียน ยิ้มศิริ (แปลจาก “East and West”) (จำนวน 6 หน้า)
– การส่งเสริมงานช่างศิลปไทย โดย นายมงคล บุณวงศ์
– เรือนไทยภาคกลาง โดย รศ. ฤทัย ใจจงรัก (คัดจากโครงการค้นคว้าวิจัยเรือนไทยเดิม) (จำนวน 11 หน้า)
– เครื่องแปั้นดินเผาที่ช่างศิลปในอดีต โดย เปี่ยมสุข เหรียญรุ่งเรือง (จำนวน 9 หน้า)
– แนวทางการจัดสวน โดย ป้อง (จำนวน 5 หน้า)

– ความทรงจำ (ประกอบด้วย อาทิ)
– เพราะราชรถทำให้ผมอยากเป็น “นักโบราณคดี” โดย นิคม มูสิกะคามะ
– เคยคิดบ้างไหม โดย เจตนา จิตรพันธุ์
– ความหลังยังจำได้ โดย วสิษฐ์ แจ้งบุตรศรี
– เรื่องโบราณ โบราณฯ โดย สุทธิลักษณ์ ไชยสุต (จำนวน 5 หน้า)
– รำลึกถึงศิลปศึกษา-ช่างศิลป โดย สุริยา เทพสาตรา (จำนวน 5 หน้า)
– ศิลปศึกษา-ช่างศิลป (2497-2532) โดย กนก บุญโพธิ์แก้ว
– อื่น ๆ

– รูปเล่าความหลัง (ภาพประวัติ : จำนวน 16 หน้า)

– อื่น ๆ

– ปกแข็งกระดาษอาร์ตหนา 246 หน้า (ขนาด 118*300*30 มม.)

– 1,200- จัดส่งลทบ.ฟรี

*** ปก หน้า/หลังมีรอยขีดข่วนจากการจัดเก็บ บิดงอเล็กน้อย รูปเล่มและส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***

สกุลศิลปพระพุทธรูป ในประเทศไทย

…..ว่าด้วย ‘สกุลศิลปพระพุทธรูป ในประเทศไทย’….(ตำหนิเล็กน้อยครับ)…..

– สกุลศิลปพระพุทธรูป ในประเทศไทย
– โดย จิตร บัวบุศย์
– จัดพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2503

– ภายในแบ่งออกเป็น 10 หัวข้อใหญ่ พร้อมภาพสีขาวดำจำนวนร่วม 100 ภาพ ประกอบด้วย อาทิ

– คำนำ โดย จิตร บัวบุศย์ (จำนวน 14 หน้า)

– เราควรศึกษาแบบอย่างพระพุทธรูปด้วยหลักการอย่างไร (แบ่งออกเป็นหัวข้อย่อย อาทิ)
– ต้นกำเหนิด (อิงตามต้นฉบับจัดพิมพ์เดิม)
– การวิวัฒนาการ
– การพัฒนาการ
– การต่อเนื่อง
– อิทธิพลที่มองเห็นและที่มองไม่เห็น
– อื่น ๆ

– สกุลศิลป (แบ่งออกเป็นหัวข้อย่อย อาทิ)
– สกุลศิลปในอินเดียโดยย่อ
– สกุลศิลปคันธาราฐ (ประมาณ พ.ศ. 500-800)
– สกุลศิลปอันทรา (ประมาณ พ.ศ. 593-863)
– สกุลศิลปคุปตะ (พ.ศ. 863-1190)
– สกุลศิลปปาละวะ (พ.ศ. 980-1325)
– สกุลศิลป ปาละ – เสนา (พ.ศ. 1293-1743)
– อื่น ๆ

– เหตุใดในวงการศิลป จึงไม่นับ สกุลศิลป ลังกา หรือ ประเทศ อินเดียไกลอื่น ๆ เป็นต้นกำเนิดของการสร้างพระพุทธรูปในสุวรรณภูมิ
– ทฤษฎีและเทคนิคการสร้างพระพุทธรูป และรูปเคารพในอินเดีย
– การแบ่งสกุลศิลปในประเทศไทย
– สกุลศิลปต่างชาติในประเทศไทย (แบ่งออกเป็น อาทิ)
– สกุลศิลปต่างชาติ พุทธศตวรรษที่ 7-9 (สกุลศิลปอมราวดี)
– เชื้อชาติของศิลปิน
– เขตที่พบ
– หลักฐานอย่างอื่น
– ลักษณะสำคัญของพระพุทธรูป

– สกุลต่างชาติพุทธศตวรรษที่ 9-11 (สกุลศิลปคุปตะ) (แบ่งออกเป็น อาทิ)
– เชื้อชาติของศิลปิน
– เขตที่พบ
– หลักฐานที่พบ

– สกุลศิลปต่างชาติพุทธศตวรรษที่ 10-14 (สกุลศิลปปาละวะ) (แบ่งออกเป็น อาทิ)
– เชื้อชาติของศิลปิน
– เขตที่พบ
– ลักษณะสำคัญของพระพุทธรูป
– หลักฐานอย่างอื่น

– อื่น ๆ

– สกุลศิลปไทยในประเทศไทย (แบ่งออกเป็น อาทิ)
– สกุลศิลปไทยพุทธศตวรรษที่ 9-11 (สกุลศิลปไทย-คุปตะ)
– สกุลศิลปไทยพุทธศตวรรษที่ 10-14 (สกุลศิลปไทย – ปาละวะ)
– สกุลศิลปไทยพุทธศตวรรษที่ 13-18 (สกุลศิลปไทย – ปาละ – เสนา)
– อื่น ๆ

– หนังสือที่ใช้ค้นคว้า

– ส่วนของภาพประกอบขาวดำรวมร่วม 100 ภาพ

– ปกแข็งกระดาษอาร์ตหนารวม 167 หน้า (ขนาด 155*255*13 มม.)

– 450- จัดส่งลทบ.ฟรี

***หนังสือถูกซ่อมช่วงสันยึดเล่ม รูปเล่มและส่วนอื่น ๆ แข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

***กรณีการข้อมูลไปใช้ ไม่ว่าในวาระใด ขอความกรุณาโปรดระบุแจ้งการอ้างอิง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ตนไว้ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ***