ศิลปินร่วมบุญ เกื้อหนุน 100 ปี โรงพยาบาสลจุฬาลงกรณ์ ( หนังสือ การประมูลผลงานศิลปะ ฉลอง 100 ปี โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ณ ห้องแอทธินี คริสตัล ฮอลล์ โรงแรมพลาซ่า แอทธินี รอยัล เมอริเดียน เมื่อพฤหัสบดี 13 มี.ค. 2557 )

….60 ผลงาน จาก หลายหลายศิลปิน “ในการร่วมบุญ เกื้อหนุน 100 ปี โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์”…..

– ศิลปินร่วมบุญ เกื้อหนุน 100 ปี โรงพยาบาสลจุฬาลงกรณ์ ( หนังสือ การประมูลผลงานศิลปะ ฉลอง 100 ปี โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ณ ห้องแอทธินี คริสตัล ฮอลล์ โรงแรมพลาซ่า แอทธินี รอยัล เมอริเดียน เมื่อพฤหัสบดี 13 มี.ค. 2557 )

– ภายในแบ่งเป็นดังนี้

– สารจากผู้อำนวยการโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ (รศ. นพ. โศภณ นภาธร )

– ส่วนที่ 1 : ผลงานพระราชทาน

– ส่วนที่ 2 :ผลงานศิลปกรรมชั้นยอดของประเทศไทย ( 60 ผลงานจากศิลปิน อาทิ )
– ประหยัด พงษ์ดำ
– ช่วง มูลพินิจ
– ชลูด นิ่มเสมอ
– จักรพันธุ์ โปษยกฤต
– อวบ สาณะเสน
– สงัด ปุยอ๊อก
– ประเทือง เอมเจริญ
– ชัย ราชวัตร
– ประกิต (จิตร) บัวบุศย์
– วินัย ปราบบริปู
– ฯลฯ

– กระดาษอาร์ตมันหนา 64 หน้า ( ขนาด 210*270 มม. )

– 350- จัดส่งลทบ.ฟรี

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

วิถีชีวิตพอเพียง ( สูจิบัตรแสดงงานเมื่อ 25 ต.ค. 2556 ณ หอศิลป์จามจุรี ชั้น 1 )

……ถักทอถ้อย “พอเพียง” บนวิถีทางแห่งถ้อยคำสีที่แต่มสรรค์……

– วิถีชีวิตพอเพียง ( สูจิบัตรแสดงงานเมื่อ 25 ต.ค. 2556 ณ หอศิลป์จามจุรี ชั้น 1 )
– โดย สัมฤทธิ์ เพชรคง

– ภายในประกอบด้วย

– สารประธานเปิดงาน (นางอัญชลี วานิช เทพบุตร) / สารนายกสมาคมศิลปินทัศนศิลป์นานาชาติ แห่งประเทศไทย (สมศักดิ์ รักษ์สุวรรณ)

– ผลงานแสดง 15 ชิ้นภายในเล่ม
– เบื้องหลังการทำงาน และประวัติแสดงงาน

– กระดาษอาร์ตหนา 24 หน้า ( ขนาด 210*240 มม. )

– 180- จัดส่งลทบ.ฟรี

( สามารถติดต่อดดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

พระมหากษัตริย์กับการพิพิธภัณฑ์ ( จัดพิมพ์เนื่องในมหามงคลสมัยสิริราชสมบัติครบ 50 ปี พุทธศักราช 2539 )

…..ว่าด้วย “พิพิธภัณฑ์” แห่งสยาม…..( หนังสืออถภินันฯ : ตำหนิเล็กน้อยครับ )…..

– พระมหากษัตริย์กับการพิพิธภัณฑ์ ( จัดพิมพ์เนื่องในมหามงคลสมัยสิริราชสมบัติครบ 50 ปี พุทธศักราช 2539 )
– ผู้เขียนและผู้เรียบเรียงโดย นางส่งศรี ประพัฒน์ทอง, นางสมลักษณ์ เจริญพจน์, นายมงคล สำราญสุข, นางจารุณี อินเฉิดฉาย, นางสาวประภัสสร โพธิ์ศรีทอง
– จัดพิมพ์ครั้งแรก 2541

– ภายในแบ่งเป็น 3 บทหลักใหญ่ ประกอบด้วย

– คำปรารภของประธานกรรมการอำนวยการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติ 50 ปี เรียบเรียงโดย สายไหม จบกลศึก

– พระราชประวัติของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดช เรียบเรียงโดย สำนักเลขาธิการ

– บทนำ

– บทที่ 1 : พระราชทานกำเนิดพิพิธภัณฑสถาน โดย ส่งศรี ประพัฒน์ทอง, ประภัสสร โพธิ์ศรีทอง ( ภายในประกอบด้วย 4 หัวเรื่อง ย่อยอาทิ )
– ประเทศไทย : ดินแดนแหล่งวัฒนธรรมที่สำคัญในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
– พระมหากษัตริย์ยุคแรกสถาปนากรุงเทพมหานครในสมัยรัตนโกสินทร์
– กรุงรัตนโกสินทร์พัฒนาสู่อารยธรรมตะวันตก
– พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สู่สายตาชาวไทยครั้งแรก

– บทที่ 2 : พัฒนาการพิพิธภัณฑสถานตามแนวพระราชดำริ โดย สมลักษณ์ เจริญพจน์ ( ภายในประกอบด้วยกว่า 10 หัวเรื่อง ย่อย อาทิ )
– จากวังหน้าสู่นานามณฑล
– แนวพัฒนาสู่สากล กับ การอนุรักษ์สมบัติวัฒนธรรมของชาติ
– พิพิธภัณฑสถานสำหรับพระนคร
– ราชบัณฑิตยสภากับการพัฒนาพิพิธภัณฑสถาน
– ต้นแบบพิพิธภัณฑสถานศิลปะและโบราณคดี
– พิพิธภัณฑสถานของชุมชนโดยชุมชน
– อธิบายว่าด้วย หอพระสมุดวชิรญาณ และพิพิธภัณฑสถานสำหรับพระนคร
– อื่นๆ

– ภาพประวัติเมื่อครั้งเสด็จเปิดตามที่ต่างๆ

– บทที่ 3 : พิพิธภัณฑสถานของคนไทยในปัจจุบัน ( ภายในแบ่งเป็น 2 ภาคใหญ่ กว่า 10 หัวเรื่องย่อย อาทิ )
– ภาคหนึ่ง : หลักการพิพิธภัณฑสถานโดยสากล โดย มงคล สำราญสุข ( ประกอบด้วย อาทิ )
– คำจำกัดความ
– หน้าที่และบทบาทของพิพิธภัณฑสถาน ( แบ่งเป็น 3 หัวเรื่องย่อยภายใน )
– ประเภทของพิพิธภัณฑสถาน ( แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ภายใน )
– ความพร้อมบริการของพิพิธภัณฑสถาน
– อื่นๆ

– ภาคสอง : พิพิธภัณฑสถานในประเทศไทย โดย จารุณี อินเฉิดฉาย ( แบ่งเป็นหัวเรื่องย่อย ประกอบด้วย อาทิ )
– สถานะและบทบาทของพิพิธภัณฑสถานในประเทศไทย
– พิพิธภัณฑสถาน คือ สถาบันที่ตั้งขึ้นโดยถาวร เพื่อรับใช้และพัฒนาสังคม ( แบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ )
– ประเภทของพิพิธภัณฑสถานในประเทศไทย ( แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มใหญ่ ภายใน )
– ทิศทางและแนวโน้ทในอนาคตของพิพิธภัณฑสถานในประเทศไทย
– อื่นๆ

– นามานุกรม พิพิธภัณฑสถานในประเทศไทย

– ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนา 220 หน้า ( ขนาด 210*293*15 มม. )

– 450- จัดส่งลทบ.ฟรี

*** หนังสืออภินันฯ ปก หน้า/หลัง มอมแมมเล็กน้อย รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

บันทึกบรรยาย 10 บทความเลขนศิลป์ศึกษาเชิงไปรเวท จากบันทึกการสอนของ อนุทิน วงศ์สรรคกร

ถ้าหากเปรียบความรู้ที่มีอยู่ทั้งหมดในโลกใบนี้เป็นเสมือนตัวต่อ Jigsaw puzzle ตัวต่อแต่ละตัวก็อาจจะเปรียบได้กับความรู้ย่อยใน หลาย ๆ เรื่อง เป็นส่วนต่าง ๆ ที่เราต้องใช้เวลาในการค้นหา และนำมาประกอบต่อกัน เพื่อให้เห็นเรื่องราวเป็นส่วน ๆ ถ้ออยากจะเห็นภาพรวมทั้งหมด ก็คงต้องอาศัยความรู้ย่อยมากมายมาเรียงร้อยประกอบกัน จึงจะเห็นภาพรวมที่ชัดเจน
.
ในขณะเดียวกัน ความต้องการความรู้ย่อยก็ย่อมจะต้องมีมากขึ้น สลับซับซ้อนมากขึ้น เพื่อที่จะได้มาซึ่งภาพรวมที่ชัดเจนและมากด้วยรายละเอียด
.
ในวิชาชีพการออกแบบเลขนศิลป์ ก็เช่นกันกับที่กล่าวมา เรามีองค์ความรู้ย่อย ๆ ประกอบกันมากมาย มีทั้งที่เป็น วิทยาศาสตร์ ภาษาศาสตร์ จิตวิทยา ศิลปะ และศาสตร์อื่น ๆ ที่มาประกอบอยู่รวมกัน
.
งานออกแบบที่ดีนั้นจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลความรู้ต่าง ๆ มาเรียงผสมผสาน และเชื่อมต่อด้วยประสบการณ์ของตัวนักออกแบบ เป็นโซ่ความสัมพันธ์เหมือนภาพจากตัวต่อ
.
…….
.
บ่อยครั้งที่นักออกแบบรู้สึกมืดมนจนแต้มในขณะทำงานออกแบบ หรือของผู้อื่นได้ ตรงนี้อาจจะเป็นเพราะนักออกแบบมีองค์ความรู้โดยรวมเพียงพอที่จะเข้าใจในสิ่งที่กำลังทำอยู่ คำว่า ความรู้สึก จึงเป็นคำที่มักถูกนำมาใช้ แล้วก็คิดเหมาเอาเองว่าเหมาะสม
.
….
.
.
( บางส่วนจากคำนำ โดย ปุณลาภ ปุณโณทก )



บันทึกบรรยาย 10 บทความเลขนศิลป์ศึกษาเชิงไปรเวท จากบันทึกการสอนของ อนุทิน วงศ์สรรคกร / พิมพ์ครั้งแรก ธ.ค. 2543 / กระดาษอาร์ตหนา 126 หน้า ( ขนาด 137*286*10 มม. )



350- จัดส่งลทบ.ฟรี



#อนุทินวงศ์สรรคกร.#นิยมรัก.#ร้านข้างเขตฯ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID / 086-2835509 )

ศิลปินแห่งชาติ พุทธศักราช 2558

….หาใช่บนถนนหรือปลายทางไม่ แต่ทว่าอาจคือหยดน้ำชโลมจิต ที่ กาลนั้น กลั่น มอบยื่นเสมือน “ช่องาม” ระหว่าง สองริมทางที่ทอดไกล….( ตำหนิเล็กน้อยครับ )….

“คนเราอะไรในโลกได้ทุกอย่าง แต่อย่างเดียวที่ทำได้ยากที่สุด คือ การทำความดีเพื่อความดี ด้วยใจจริง”

( สันติ ลุนเผ่ ( ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) ปี 2558 )

– ศิลปินแห่งชาติ พุทธศักราช 2558

– ภายในประกอบด้วย

– คำนิยม / คำปรารภ / คำนำ
– 24 ก.พ. “วันศิลปินแห่งชาติ”
– อัครศิลปิน / อัคราภิรักษศิลปิน / วิศิษฏศิลปิน

รายชื่อ และประวัติ ศิลปินแห่งชาติ พุทธศักราช 2558 ในสาขาต่างๆ

สาขาทัศนศิลป์

– นายกฤษฎา โรจนกร (สถาปัตยกรรม)
– ศ. วิชัย สิทธิรัตน์ (ประติมากรรม)
– ศ. (เกียรติคุณ) เสริมศักดิ์ นาคบัว

สาขาวรรณศิลป์

– นายธีรภาพ โลหิตกุล (สารคดี)
– นายไพวรินทร์ ขาวงาม (กวีนิพนธ์)

สาศิลปะการแสดง

– นางสาวเวณิกา บุนนาค (นาฏศิลป์ไทย)
– เรือตรีสันติ ลุนเผ่ (ดนตรีสากล)
– นายสมบูรณ์ นิยมศิริ (เปี๊ยก โปสเตอร์) (ภาพยนตร์และละครโทรทัศน์)

ภาคผนวก ต่างๆ

– ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนา 276 หน้า ( ขนาด 210*270*20 มม. )

– 550- จัดส่งลทบ.ฟรี

*** ปก หน้ามีรอยปากการอยเล็กหนึ่งจุด มอมแมมเล็กน้อย รูปเล่มและภายในแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )