ทอรักถักสายใย ผ่านลายผ้านาหมื่นศรี ( หนังสือ จาก โครงการวิจัยแนวทางการอนุรักษ์และฟื้นฟูภูมิปัญญาลายผ้านาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง )

….สืบค้นลงลึกลงไปในลวดลาย กับ 500 เล่ม จาก งานวิจัยว่าด้วย “ผ้านาหมื่นศรี”…..

– ทอรักถักสายใย ผ่านลายผ้านาหมื่นศรี ( หนังสือ จาก โครงการวิจัยแนวทางการอนุรักษ์และฟื้นฟูภูมิปัญญาลายผ้านาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง )
– บรรณาธิการโดย สุนทรี สังข์อยุทธ์
– ฉบับจัดพิมพ์เป็นครั้งที่ 2 / ต.ค. 2551 (จำนวน 500เล่ม)

– ภายในยแบ่งเป็น 2 หมวดใหญ่ 9 หัวข้อหลัก ประกอบด้วย

– คำนำ / บทคัดย่อ / บทนำ

– บนเส้นทางงานวิจัย ( แบ่งเป็น 4 หัวข้อใหญ่ภายใน ประกอบด้วย )
– กว่าจะเป็นโครงการ
– ครึ่งทางของย่างก้าว ( แบ่งเป็น 9 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย )
– บอกกล่าวเล่าเรื่อง
– ตามหาผ้าเก่า
– เดินทางไกลไปนอกพื้นที่
– รวบรวมเอกสาร
– เวทีเรียนรู้เรื่องผ้า
– ศึกษาวัสดุอุปกรณ์ทอผ้า
– เรียนแกะลาย
– เก็บข้อมูลเพิ่มเติม
– เวทีตรวจขสอบ

– สู่จุดมุ่งหมาย ( แบ่งเป็น 4 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย )
– ทอผ้า
– สรุปบทเรียน
– นิทรรศการ
– เวทีเผยแพร่ผลงานวิจัย

– คิดอย่างไรกับงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ( แบ่งเป็น 2 หัวข้อย่อย ประกอบด้วย )
– มานพ ช่วยอินทร์
– สุนทรี สังข์อยุทธ์

– รายงานการวิจัย ( แบ่งเป็น 5 บทตอนใหญ่ภายใน ประกอบด้วย )
– บทที่ 1 : บทนำ ( แบ่งเป็น 9 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย อาทิ )
– ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
– คำถามหลักของกรวิจัย
– วัตถุประสงค์ของโครงการ
– พื้นที่ศีกษา
– เวลาดำเนินงาน
– ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย
– อื่นๆ

– บทที่ 2 : บริบทชุมชนและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ( แบ่งเป็น 6 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย อาทิ )
– ที่ตั้งและอาณาเขต
– ประชากรและอาชีพ
– ประวัติความเป็นมานาหมื่นศรี
– ประวัติและพัฒนาการกลุ่มทอผ้านาหมื่นศรี
– อื่นๆ

– บทที่ 3 : องค์ความรู้เรื่องผ้านาหมื่นศรี ( แบ่งเป็น 5 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย อาทิ )
– ประวัติวัฒนธรรมการใช้ผ้า
– ชนิดของผ้า
– ลายผ้าหมื่นศรี
– อื่นๆ

– บทที่ 4 : ปฏิบัติการทอผ้า ( แบ่งเป็น 5 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย อาทิ )
– ศัพท์ที่ใช้ในการทอผ้านาหมื่นศรี
– วัสดุอุปกรณ์ทอผ้า
– เส้นด้ายและการใช้งาน
– อื่นๆ

– บทที่ 5 : บทสรุป ( แบ่งเป็น 6 หัวข้อย่อยภายใน ประกอบด้วย อาทิ )
– การสรุปผลตามวัตถุประสงค์
– ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นหลังจากงานวิจัย
– ปัญหา อุปสรรค
– ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ
– อื่นๆ

– บรรณานุกรม
– ผู้ให้ข้อมูล
– ที่ปรึกษางานวิจัย
– รายชื่อนักวิจัย

– หนา 180 หน้า ( ขนาด 145*210*10 มม. )

– 650- จัดส่งลทบ.ฟรี

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

แลของ : วิถีชีวิตชุมชนสองฝั่งโขงไทย-ลาว : เรื่องเล่าจากภาพ

…..ลัดเลาะสองริมฝั่งโขงไทย-ลาว แล้วเก็บเรื่องราวมาเล่าผ่านภาพนิ่งไว้ 1,000 เล่ม……

– แลของ : วิถีชีวิตชุมชนสองฝั่งโขงไทย-ลาว : เรื่องเล่าจากภาพ
– โดย อุดมรัตน์ ดีเอง
– สนับสนุนและจัดพิมพ์โดย ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ( จัดพิมพ์ครั้งแรก พ.ย. 2550 ( จำนวน 1,000 เล่ม ) )

– ภายในประกอบด้วย

– คำนำ โดย ผศ. ดร. เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ (ผอ. ศูนย์วิจัยฯ )
– คำนำผู้เขียน
– บทนำ
– แม่น้ำแห่งชีวิต สายสัมพันธ์ลุ่มน้ำโขงไทย-ลาว
– ภาพเส้นทางศึกษา

– ภาพเล่าเรื่อง ( ผลงานภาพ พร้อมคำประกอบ ระบุ วัน/เดือน/ปี ที่บันทึกภาพ ร่วม 100 ภาพ )

– ปกแข็งชนิดอ่อน ( ขนาด 190*190*10 มม. )

– 350- จัดส่งลทบ.ฟรี

*** ปก หน้า/หลัง มอมแมมเล็กน้อย รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

( สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )

วิศิษฏศิลปินสรพพศิลป์สโมสร ( จัดพิมพ์เพื่อเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ 5 รอบ 2558 )

……..”วิศิษฏศิลปิน” รฦก ไว้เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เม.ย. 2558…….( พร้อมแผ่น ดีวีดี ครบชุด )…

– วิศิษฏศิลปินสรพพศิลป์สโมสร ( จัดพิมพ์เพื่อเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ 5 รอบ 2558 )

– ภายในแบ่งเป็น 5 กลุ่มใหญ่ 10 หัวเรื่อง ประกอบด้วย อาทิ

– สารเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา / สารอธิการดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– เสนาะเสียงบรรเลงเพลงพระราชนิพนธ์

– พระราชประวัติ

– ธ ทรงเป็นวิศิษฏศิลปิน ( แบ่งออกเป็น 4 หัวข้อย่อย ประกอบด้วย )
– พระปรีชาสามารถด้านภาษา
– พระปรีชาเลิศล้ำด้านศิลปะ
– พระอัจฉริยภาพด้านดนตรีไทย โดย ดร.สิริชัยชาญ ฟักจำรูญ (อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์)
– แก้วกวีศรีรัตนโกสินทร์ เรียบเรียงโดย หม่อมราชวงศ์อรฉัตร ซองทอง

– เพลงพระราชนิพนธ์ ( แบ่งออกเป็น 3 หัวข้อย่อย ประกอบด้วย )
– เพลงไทยบรรเลงทั่วไป ( ประกอบด้วย 24 บท เพลงไทยบรรเลงทั่วไป ประกอบด้วย ข้อเขียน อธิบายเพลง )
– เพลงไทยบรรเลงวันปิยมหาราช ( รวบรวมตั้งแต่ พ.ศ. 2524-2557 )
– เพลงไทยสากล ( รวบรวม 29 บทเพลงพระราชนิพนธ์ )

– สรรพพระนิพนธ์ดนตรีไทยให้รู้คิด ( แบ่งออกเป็น 8 หัวข้อย่อย ประกอบด้วย )
– บทไหว้ครูดนตรีไทยอุดมศึกษา
– เบื้องหลังการแต่งเพลงของข้าพเจ้า
– นิทานเรื่องซอสามสาย
– เหตุใดข้าพเจ้าจึงชอบดนตรีไทย
– เด็กและดนตรีไทย
– การใช้ดนตรีไทยช่วยรักาาโรค
– พิพิธภัณฑ์เครื่องดนตรีไทย
– ลูกทุ่งกับเพลงไทย

– แม้ร้อยกรองเพียงใดทรงได้สิ้น ( แบ่งออกเป็น 6 หัวข้อย่อย ประกอบด้วย )
– คำฉันท์ดุษฎีสังเวยพระศรีนรารัฐราชกิริณี

– กาพย์ขับไม้กล่อมพระศรีนรารัฐราชกิริณี
– คำฉันท์ดุษฎีสังเวยสมโภชพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร
– กาพย์ขับไม้สมโภชพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร

– พระราชดำรัสตรัสไว้ให้ตระหนัก

– ทุกลิขิตล้วนคิดเทิดพระเกียรติ โดย ผศ. พิศศรี กมลเวชช

– “รัตนฉัตร” ขัตติยานารี ดนตรีไทยอุดมศึกษา โดย รศ. ลาวัณย์ ไกรเดช (อาจารย์ที่ปรึกษาชมรมดนตรีไทย ม.ก.)

– อ้างถึงที่มาเรื่องน่ารู้

– ส่วนนอกเหนือที่นับเนื่องเรื่องในเล่ม ( แบ่งออกเป็น 8 หัวข้อย่อย )

– ปกแข็งชนิดอ่อนกระดาษอาร์ตหนา 320 หน้า ( ขนาด 230*305*20 มม. )

– 850- จัดส่งลทบ.ฟรี ( พร้อมแผ่น ดีวีดี แทรกภายในเล่ม )

( สามารถติดต่อดดยตรงได้ที่ Line ID : Kang_Crate / 086-2835509 )