ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทย

…..สถาปัตยกรรมไทย ใน ประวัติศาสตร์…..

– ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทย
– โดย อ. เสนอ นิลเดช
– ฉบับจัดพิมพ์เป็นครั้งที่ 2 / 2544 ( จำนวน 1,000 เล่ม )

– ภายในแบ่งเป็น 15 หัวเรื่องใหญ่ ประกอบด้วย อาทิ

– คำนำ

– เจดีย์
– วิวัฒนาการแห่งศิลปะไทยและศิลปะต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับศิลปะไทย
– ศิลปะไทย
– ศิลปะสมัยทวาราวดี พุทธศตวรรษที่ 11-18
– ศิลปะสมัยศรีวิชัย พุทธศตวรรษที่ 13-18
– ศิลปะสมัยลพบุรี พุทธศตวรรษที่ 16-18
– ศิลปะสมัยเชียงแสน พุทธศตวรรษที่ 17-24
– ศิลปะสมัยสุโขทัย พุทธศตวรรษที่ 18-20
– ศิลปะสมัยอู่ทอง พุทธศตวรรษที่ 17-20
– ศิลปะสมัยอยุธยา พุทธศตวรรษที่ 20-พ.ศ. 2310
– ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์พุทธศตวรรษที่ 24-ปัจจุบัน
– เรือนราษฎรสามัญ เรือนคหบดี และเรือนหลวง
– เรือนไทยโบราณทางภาคเหนือ
– เรือนไทยลื้อ
– บรรณานุกรม

– หนา 188 หน้า ( ขนาด 210*293*10 มม. )

– 550- จัดส่งลทบ.ฟรี

*** ปกหลังมีรอยพับเล็กน้อย รูปเล่มและส่วนอื่นๆสมบูรณ์แข็งแรงครับ.

รู้สึกและนึกคิด เรขาคณิตของทาดาโอะ อันโด

…….รูปทรงและความนึกคิดของ สถาน…….( ตำหนิเล็กน้อยครับ )…

– รู้สึกและนึกคิด เรขาคณิตของทาดาโอะ อันโด
– โดย ชัยยศ อิษฎ์วรพันธุ์
– ฉบับพิมพ์ (แก้ไขเพิ่มเติมเนื้อหา) ครั้งที่ 2 / มี.ค. 2551

– ภายในแบ่ง 6 ส่วน ประกอบด้วย

– บทนำ
– การก่อรูปพื้นที่ด้วยรูปทรงเลขาคณิต
– ปรากฎการณ์วิทยาแห่งสถาปัตยกรรม
– ลักษณะประเพณีในงานสถาปัตยกรรม
– บทสรุป
– ภาคผนวก
– บรรณานุกรม

– กระดาษอาร์ตหนา 190 หน้า ( ขนาด 173*218*15 มม. )

– 450- จัดส่งลทบ.ฟรี

****ใบรองปกหน้ามีรอยสึกถลอกจากเทปติดใบหุ้มปกเดิมเล็กน้อย รูปเล่มและส่วนอื่นๆสมบูรณ์แข็งแรงครับ.

ภาพถ่ายประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ย้อนยุค ( รวบรวมภาพถ่ายตั้งแต่ช่วงยุคสมัยปลายรัชกาลที่ 4 จรดจนถึงช่วงต้น พ.ศ. 2500 )

…….บางกอก ในวันวาน จาก สมุดภาพ “ภาพถ่ายในประวัติศาสตร์”……

– ภาพถ่ายประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ย้อนยุค ( รวบรวมภาพถ่ายตั้งแต่ช่วงยุคสมัยปลายรัชกาลที่ 4 จรดจนถึงช่วงต้น พ.ศ. 2500 )
– รวบรวมเรียบเรียงโดย เทพชู ทับทอง
– จัดพิมพ์ในช่วงปี 2539

– ภายในประกอบด้วย ภาพ พร้อมประวัติ ร่วมกว่า 60 ภาพ อาทิ

– คำนำ

– ภูมิหลังของกรุงเทพมหานคร
– วัดพระเชตุพนฯ
– พระที่นั่งสุทไธสวรรย์ พระที่นั่งภูวดลทัศไนย
– ทุ่งพระเมรุ
– ท่าราชวรดิฐ
– ป้อมพระสุเมรุ
– สนามไชย
– สีกั๊กพระยาศรี
– เรือนแพหน้าวัดอรุณฯ
– พระราชวังเดิม
– สะพานเหล็กบน
– อื่นๆ

– กระดาษอาร์ตมันหนา 97 หน้า ( ขนาด 190*260*07 มม. )

– 450- จัดส่งลทบ.ฟรี

มหาชาติคำหลวง ( ฉบับสมโภช 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : เนื่องในวาระครบ หนึ่งร้อยปี แห่งการประดิษฐานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยใน พ.ศ. 2560 )

…….”มหาชาติคำหลวง” ฉบับชำระ (ถอดอธิบายคำ) สมโภช 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนิทัศน์ ผ่านภาพถ่ายจิตรกรรมฝาผนัง “เวสสันดรชาดก” จาก จิตรกรรมฝาผนังของ 6 วัดเจ็ดแห่ง…….( ตำหนิเล็กน้อยครับ )….

– มหาชาติคำหลวง ( ฉบับสมโภช 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : เนื่องในวาระครบ หนึ่งร้อยปี แห่งการประดิษฐานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยใน พ.ศ. 2560 )
– ชำระต้นฉบับโดย น.ท.หญิง สุมาลี วีระวงศ์
– ช่างภาพโดย ดร. ปรัชญา ภิญญาวัธน์, วรพจน์ จิระวัฒน์พงศา, สุรพล จันทร์น้อย
– จัดพิมพ์โดย ชมรมนิสิตจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย รุ่นเข้าปี 2510

– ภายในแบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก ประกอบด้วย

– คำนำคำหลวง

– ข้อสังเกตุและความคิดเห็นว่าด้วยมหาชาติคำหลวง โดย น.ท.หญิง สุมาลี วีระวงศ์

– ส่วนเนื้อหาภายใน มหาชาติคำหลวง ( แบ่งออกเป็น 11 กัณฑ์ สิบเอ็ดตอน )

– ส่วน ภาพถ่ายจิตรกรรมฝาผนังเวสสันดรชาดก ( ภาพถ่าย จากจิตรกรรมฝาผนัง จาก 6 วัด ) โดย ดร. ปรัชญา ภิญญาวัธน์, วรพจน์ จิระวัฒน์พงศา, สุรพล จันทร์น้อย

– ปกแข็งในกล่องสวมภายในหนา 264 หน้า ( ขนาด 250*240*28 มม. )

– 1,000- จัดส่งลทบ.ฟรี

****ปก หน้า/หลัง มีรอยฟองอากาศเล็กน้อยรูปเล่มภายในแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

สูจิบัตรแสดงงาน โดย ศรีวรรณ เจนหัตถการกิจ เมื่อ ปี 1983 ( 2526 )

“…รูปแบบในงานศิลปะของข้าพเจ้ามีลักษณะเป็นนามธรรม และ กึ่งนามธรรม เส้น สี รูปทรง น้ำหนัก ร่องรอย พื้นผิว เสมือนเป็นการบันทึก เป็นภาษาสื่อความหมาย เพื่อเป็นการระลึกถึง สถานที่หรือสิ่งต่าง ๆ ที่ข้าพเจ้าประสบ และมีความประทับใจ โครงสร้างของ เส้น สี รูปทรง พื้นผิว จะอยู่รวมตัวกันอย่างมีจังหวะ มีความประสานสัมพันธ์กับพื้นที่ว่างอย่างมีเอกภาพอันเป็นจุดมุ่งหมายในงานข้าพเจ้า เปรียบเสมือนดนตรีที่มีแต่ท่วงทำนองปราศจากเนื้อร้อง ซึ่งมุ่งหวังให้ผู้ชมได้รู้สึกอย่างมีอิสรภาพ…”
.
.
( บางส่วน จาก แนวความคิด )



คนทำงานศิลปะบางคนพูดว่า “ผมพบวิถีทางของตัวเองแล้ว” ฉันคิดว่านี่เป็นคำพูดที่น่ากลัวมาก เพราะเขากำลังจะเดินไปตามแนวทางที่ตัวเองยึดไว้ ซึ่งในทางสร้างสรรค์แล้ว การเดินไปบนเส้นทางที่ตัวเองขีด หรือเดินไปบนเส้นทาวที่คนอื่นขีดนั้นมีผลเท่ากัน
.
.
( บันทึกบางส่วน จากส่วนของ ขัอเขียน ในบทที่ชื่อว่า “สเก็ตซ์…” โดย นิติ วัตุยา )



สูจิบัตรแสดงงาน โดย ศรีวรรณ เจนหัตถการกิจ เมื่อ ปี 1983 ( 2526 )



ภายในแบ่งเป็น : แนวความคิด / จากศิลปินถึงศิลปิน / ประวัติแสดงงาน / ส่วนผลงาน / บทความ



200- จัดส่งลทบ.ฟรี