จ่าง แซ่ตั้ง MASTER OF THAILAND

#นิยมรัก.#นิทรรศการบนหน้ากระดาษ.#ในโลกจิตที่หลงรัก.#ยี่สิบสามตุลาหกสอง.

ศิลปิน นั้น เป็น เช่นไร ?
เป็นนั้นอาจที่หมั่นสร้างและทำ
ให้งานนั้นแทนถ้อยคำ
สร้างสรรค์ความงามนั้นให้เธอเห็น
หาใช่…
เพียงหมั่นสร้างให้เขาหรือตน
เรียกยกอ้างตน
ว่า ศิลปินนั้น คือ
นัยน์ภาพปรากฎ
จาก ถ้อยคำและเสียง
ที่ประกาศก้อง…
หรือเพียงแค่เป็น
ฉันนั้นคือ “ศิลปิน” ในถ้อยคำของลม…

( มิได้เจาะจงหรือยกเป็นการตีความคำนี้ แต่ทว่า..หากมีสิ่งใดที่เป็นความงามอยู่บ้างขอมอบแด่ ผู้วาดภาพด้วยการดำรงค์ตนทุกท่านไว้ในบรรทัดบางบรรทัดนี้ : ชายเร่ร่อน )

– จ่ า ง แ ซ่ ตั้ ง : Fine Art ( No.23 Vol.3 / August 2006 )

– ภายในประกอบไปด้วยบางชิ้นและเรื่องราวชีวิต ของจ่าง แซ่ตั้ง 15 หน้า และเรื่องอื่นๆ

– หนา 120 หน้า ( ขนาด 218*276 มม. )

– 300- จัดส่งลทบ.ฟรี

Lachapelle Land

….นัยน์สีสรรค์…. ( ไม่มีกล่องสวม : ตำหนิเล็กน้อยครับ )….

– L A C H A P E L L E L A N D

– Photographs by D a v i d L a c h a p e l l e

– 1996

– ปกแข็งกระดาษอาร์ทมันหนา 152 หน้า ( ขนาด 287*363*18 มม. )

– 1,250- จัดส่งลทบ.ฟรี

*** มุมขอบช่วงสันมีรอยถลอกพกช้ำบางเล็กน้อย รูปเล่มแข็งแรงครับ.

เยี่ยมเรือนเยือนอดีต , ลอดลายกำแพง

….เก็บเงาใต้แสงมาเล่าความ….

– เยี่ยมเรือนเยือนอดีต และ ลอดลายกำแพง ( รวบรวมข้อเขียนจากคอลัมน์ อาณาสถาปัตย์ )
– โดย ดร.เพ็ญสุภา สุขคตะ ( เพ็ญ ภัคตะ )
– ภาพประกอบโดย กฤตยชญ์ โชติพานิช

– ขออนุญาตส่งต่อทั้งเซ็ต 2 เล่ม : 390- จัดส่งลทบ.ฟรี

– รายละเอียดเพิ่มเติมใต้ภาพครับ….

– เยี่ยมเรือนเยือนอดีต ( รวบรวมข้อเขียน ( ศิลปะตะวันตกในเรือนสยาม ) 14 ตอน ( ชุดแรก ) อาทิ พระที่นั่งวิมานเมฆ,พระที่นั่งอภิเศกดุสิต, วังปารุสกวัน, บ้านนรสิงห์, วังวรดิศ, อื่นๆ )
– ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 เมื่อ มิ.ย.2544

– ภายในแบ่งเป็น 16 หัวเรื่อง ประกอบด้วย อาทิ

– ในนามของนักล่า สถาปนา อาเขต-อาณานิคม
– ชิโน-โปตุเกส หมายเหตุ ไทย-จีน-แขก-ฝรั่ง
– เมือเปลวไฟปลิวฟ่องสู่ท้องฟ้า เทียนศรัทธาสานทอเป็น ‘กอทิก’
– บางกอก : เวนิชตะวันออก
– มนต์ขลัง ขนมปังขิง
– นีโอปัลลาเดียน การย้อนเวียนสู่ศิลปะคลาสสิค
– ฯลฯ

– หนา 176 หน้า ( ขนาด 125*188*10 )

– ลอดลายกำแพง ( รวบรวมข้อเขียน ( สถาปัตยกรรมร่วมสมัย ) 15 ตอน ( ชุดที่สอง) อาทิ : ตึกแถว, สะพาน, สถานีรถไฟ, ศาลาดนตรี, ตำหนักฝ่ายใน, สถานทูต, โบสถ์คริสต์, อื่นๆ )
– ฉบับพิมพ์ครั้งแรก เมื่อ พ.ค. 2544

– ภายในแบ่งเป็น 16 หัวเรื่อง ประกอบด้วย อาทิ

– บทนำ : ลอดลายกำแพง
– กำเนิดตึกแถว
– คือสายรุ้งพุ่งพรายเหนือสายธาร
– สถานีรถไฟ ชัยชนะของการปฏิวัติอุตสาหกรรม
– ตำนานตำหนักฝ่ายใน
– โบสถ์คริสต์ในสยาม
– ฯลฯ

– หนา 151 หน้า ( ขนาด 125*188*10 )

หลักการทัศนศิลป์

…ค้นเหตุเข้าไปในผลจากความ นึกคิด…….

– หลักการทัศนศิลป์
– โดย สุชาติ เถาทอง
– ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 3 เมื่อ มิ.ย.2539

– ภายในแบ่งเป็น 13 บทใน 2 ตอนใหญ่ ประกอบด้วย อาทิ
– ตอนที่ 1 : แนวคิดทางหลักการทัศนศิลป์ ( ภายในแบ่งเป็น 8 บทใหญ่ ) อาทิ
– ทัศนศิลป์ ศาสตร์แห่งการรับรู้ ( แบ่งเป็น 2 หัวข้อย่อยภายใน )
– มนุษย์กับการรับรู้ ( แบ่งเป็น 4 หัวข้อย่อยภายใน )
– ความรู้พื้นฐานของการสน้างสรรค์ ( แบ่งเป็น 3 หัวข้อย่อยภายใน )
– โครงสร้างทางทัศนศิลป์ ( แบ่งเป็น 6 หัวข้อย่อยภายใน )
– สีกับทัศนศิลป์ ( แบ่งเป็น 8 หัวข้อย่อยภายใน )
– การถ่ายทอดทางทัศนศิลป์ ( แบ่งเป็น 3 หัวข้อย่อยภายใน )
– ความสำคัญของทัศนศิลป์ ( แบ่งเป็น 1 หัวข้อย่อยภายใน )

– ตอนที่ 2 : ปฏิบัติการทางหลักการทัศนศิลป์ ( ภายในแบ่งเป็น 5 บทใหญ่ ) อาทิ
– กิจกรรมรูปและพื้นฐาน ( แบ่งเป็น 3 หัวข้อย่อยภายใน )
– กิจกรรมเส้น ( แบ่งเป็น 4 หัวข้อย่อยภายใน )
– กิจกรรมสี ( แบ่งเป็น 4 หัวข้อย่อยภายใน )
– กิจกรรมรูปทรง ( แบ่งเป็น 6 หัวข้อย่อยภายใน )
– กิจกรรมระยะและมิติ ( แบ่งเป็น 3 หัวข้อย่อยภายใน )

– บทสรุปและภาคผนวก

– หนา 156 หน้า ( ขนาด 188*255*10 มม. )

– 350- จัดส่งลทบ.ฟรี

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ หม่อมเจ้า พิไลยเลขา ดิศกุล ต.จ.

…..”สาส์นพิไลย” ในอนุสรณ์…( ตำหนิเล็กน้อยครับ )….

– อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ หม่อมเจ้า พิไลยเลขา ดิศกุล ต.จ. เมื่อ 21 ธ.ค.2528

– ภายในประกอบด้วย
– ประวัติ อนุสรณ์ หม่อมเจ้า พิไลยเลขา ดิศกุล ต.จ.
– ภาพประวัติ
– ผลงานภาพวาด อธิบายสีโดย น. ณ ปากน้ำ
– คำอธิบาย “สาน์สพิไลย” โดย หม่อมเจ้า ดวงจิตร จิตรพงศ์
– สาส์พิไลย ( บทถามโต้ตอบระหว่าง หม่อมเจ้าพิไลยเลขา กับ สมเด็จเจ้าฟ้า กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ )

– หนารวมร่วม 150 หน้า ( ขนาด 160*220 มม. )

– 450- จัดส่งลทบ.ฟรี

***ใบรองช่วงหน้ากระดาษไขมีรอยคราบบาง ปกหลังมีรอยขาดที่มุมขอบเล็กน้อย รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

ไพบูลย์ บุตรขัน : อัจฉริยะ คีตกวีลูกทุ่งผู้อาภัพ ( ภาคสมบูรณ์ )

….ตามร่องเสียงที่แผ่วผิวในหยดหมึก…( ตำหนิเล็กนัอยครับ )…..

– ไพบูลย์ บุตรขัน : อัจฉริยะ คีตกวีลูกทุ่งผู้อาภัพ ( ภาคสมบูรณ์ )
– เรียบเรียงโดย บุญเลิศ คชายุทธเดช ( ช้างใหญ่ )
– พิมพ์ครั้งแรก มิ.ย.2560

– ภายในแบ่ง 5 ภาคใหญ่ ประกอบด้วย

– คำนำต่างๆ
– ภาคหนึ่ง : ก่อเกิดและก้าวไปบนเส้นทางศิลปิน ( ประกอบด้วย 6 หัวเรื่องย่อยภายใน ) อาทิ
– ก่อเกิด ณ ย้านท้องคุ้ง
– บ้านริมฝั่งเจ้าพระยา
– อื่นๆ
– ภาคสอง : เบื้องหลังเพลงดังอมตะ ( ประกอบด้วย 19 หัวเรื่องย่อยภายใน ) อาทิ
– ตำนาน มนต์เมืองเหนือ
– ค่าน้ำนม-พระคุณแม่
– ไพบูลย์-คำรณ สร้างตำนานเพลง
– คำรณร้องเพลงการเมือง
– อื่นๆ
– ภาคสาม : อุปนิสัยส่วนตัว ( ประกอบด้วย 2 หัวเรื่องย่อยภายใน )
– ภาคสี่ : ความเป็นครูและอัจฉริยะคีตกวีลูกทุ่งไทย ( ประกอบด้วย 6 หัวเรื่องย่อยภายใน ) อาทิ
– ครูไพบูลย์ยกนิ้ว “ไพรวัลย์ เสียงดีที่สุด”
– การต่อเพลงและการคุมเวลาอัดเสียง
– อื่นๆ
– ภาคห้า : ความรักและวาระสุดท้ายของชีวิต ( ประกอบด้วย 10 หัวเรื่องย่อยภายใน )

– หนา 374 หน้า ( ขนาด 145*210*25 มม. )

– 350- จัดส่งลทบ.ฟรี

***มีรอยปากกาผู้เขียนเซ็นมอบให้ผู้ครอบครองเดิมเล็กน้อย รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.

สดุดีคีตมหาราชา ( Salute to the King )

….ถ้อยคำในเสียง สำเนียงกล่อมจาก ดวงใจ ที่รัก….

” จะเป็นแจ๊สหรือไม่แจ๊สก็ตาม ดนตรีล้วนอยู่ในตัวคนทุกคน เป็นส่วนที่ยิ่งใหญ่ในชีวิตคนเรา สำหรับข้าพเจ้า…ดนตรีคือสิ่งประณีตงดงามและทุกคนควรนิยมในคุณค่าของดนตรีทุกประเภท เพราะว่าดนตรีแต่ละประเภทต่งก็มีความเหมาพสมตามแต่โอกาสและอารมณ์ที่ แตกต่างกันไป…”

( พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่เก้า )

– สดุดีคีตมหาราชา ( Salute to the King )
– รวบรวมจัดพิมพ์โดย รีดเดอร์ ไดเจสท์ ( ประเทศไทย )
– ไม่ระบุปีพิมพ์

– ภายในแบ่งเป็น 8 หมวดใหญ่พร้อม บรรณานุกรม ประกอบด้วย
– คณะผู้จัดทำ
– คำนำ
– คำคมแห่งดนตรี
– ความสนพระราชหฤทัยทางดนตรี
– พระราชอัจฉริยภาพในทางดนตรี
– พระปรีชาสามารถที่นานาชาติได้ประจักษ์ในด้านดนตรี
– ลำดับเพลงพระราชนิพนธ์และเกร็ดประวัติเพลงพระราชนิพนธ์
– ดนตรีแจ๊ส
– บรรณานุกรม

– กระดาษอาร์ตมันหนา 116 หน้า ( ขนาด 177*250*10 มม. )

– 450- จัดส่งลทบ.ฟรี

ไอ้พวกสุพรรณ

…ฟังสำเนียง “สุพรรณ” ในบทขับกล่อมภาษา “ลูกทุ่ง”….

– ไอ้พวกสุพรรณ ( ร้อยเรียงเรืองเล่าในบทเพลงพาษาลูกทุ่งฉบับ สุพรรณ )
– โดย วาณิช จรุงกิจอนันต์
– พิมพ์รวมเล่มครั้งแรกเมื่อ ส.ค.2553

– ภายในแบ่งเรื่องราวเป็น 34 เรื่องเล่า ประกอบด้วย อาทิ
– มนต์การเมือง หรือการเมืองนั้นมีมนต์
– น้องนาบ้านนา น่าภูมิใจที่เป็นชาวนา
– สายัณห์ สัญญา จำปาลืมตีน
– ใครหนอชนะเนงบา
– ลายมือไพบูลย์ บุตรขัน
– เสียงสมยศ
– เสียงขลุ่ยครวญ
– กลิ่นโคนสาบควาย
– วันทูลที่ผ่านไป
– อื่นๆ

– ภาคผนวก

– หนา 264 หน้า ( ขนาด 145*210*18 มม. )

– 350- จัดส่งลทบ.ฟรี

อนุสรณ์พระราชทานเพลิงศพ แหลมเทียน คชะภูติ

….ชีวิตที่ปั้นแต่งจาก อากาศ และหยดเหงื่อจาก การงาน …..

– อนุสรณ์พระราชทานเพลิงศพ แหลมเทียน คชะภูติ ( อดีตข้าราชการที่กองหัตถศิลป ประติมากร 7 ) เมื่อ 28 ก.ย.2533

– ภายในประกอบด้วย
– ประวัติชีวิต
– ประวัติผลงานและภาพประวัติผลงานต่างๆ
– เรื่อง จดหมายของ ไมเคิลแอนเจโล แปลโดย น. ณ ปากน้ำ
– เพื่อนชีวิต

– หนารวมร่วม 100 หน้า ( ขนาด 145*210 มม. )

– 300- จัดส่งลทบ.ฟรี

วัดเขียน : ชุดจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย

….นัยน์ถ้อยความที่วาดไว้…( ตำหนิเล็กน้อยครับ ).
.

– วัดเขียน : ชุดจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย ( ไทย/อังกฤษ )
– โดย น. ณ ปากน้ำ
– แปลโดย อาภัสสรา จารุภา
– ถ่ายภาพโดย ปองลิขิต ยวดยง
– จัดพิมพ์ครั้งแรก เมื่อ ก.พ. 2542 ( จำนวน 1,000 เล่ม )

– ภายในประกอบด้วย

– คำนำ
– จิตกรรมวัดเขียน
– อำเภอวิเศษไชยชาญ
– จ้งหวัดอ่างทอง
– แผนผังพระอุโบสถ
– แผนผังจิตรกรรท
– ประวัติวัดเขียน
– ภาคผนวก

– ปกแข็งกระดาษอาร์ตมันหนา 75 หน้า ( ขนาด 220*285*13 มม. )

– 450- จัดส่งลทบ.ฟรี

**** ใบหุ้มปกมอมแมมมีรอยถลอกพกช้ำบาง ( มีรอยขาดเล็กน้อยหนึ่งจุด ) ภายในมีรอยปากกาเขียนชื่อที่ใบรองปก รอยดินสอขีดใต้ความประปรายในช่วงหน้าต้น รูปเล่มแข็งแรงสมบูรณ์ครับ.